Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน, ป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้โดยง่าย -…
กายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน
ระบบหายใจ(Respiratory system)
จมูก
หลอดคอ
หลอดเสียง
หลอดลม
ปอด ทำหน้าที่นำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด และนำก๊าซออกซิเจนเข้าสู่เลือด
ระบบต่อมไร้ท่อ(Endocrine system)
ควบคุมระบบพลังงานของร่างกาย
ควบคุมปริมาณน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
ควบคุมระบบสืบพันธุ์และต่อมน้ำนม
ระบบผิวหนังหรือระบบห่อหุมร่างกาย (Integumentary system)
ผิวหนังในร่างกายมนุษย์จะปกคลุมห่อหุมร่างกายทั้งหมด ภายในจะมีประสาทรับความรู้สึกมากมาย เพื่อรับรู้การสัมผัส การกด ความเจ็บปวด และอุณหภูมิร้อนเย็น
ผิวหนังของมนุษย์ มีจำนวน 2 ชั้น
ผิวหนังชั้นนอกหรือหนังกำพร้า
ผิวหนังชั้นในหรือชั้นหนังแท้
ประโยชน์ของระบบผิวหนังหรือระบบห่อหุมร่างกาย
ป้องกันและปกปิดอวัยวะภายในไม่ให้ได้รับอันตราย
ช่วยรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่
ช่วยในการรับความรู้สึกสัมผัส เช่น ร้อน หนาว เจ็บปวด
ช่วยสร้างวิตามินดีให้แก้ร่างกาย
แสดงให้เห็นถึงความผิดปกติของร่างกาย เช่น ผื่นคัน ผิวหนังซีด
ระบบกระดูก (Skeletal systew)
กระดูกแกน(Axial skeleton)
ทำหน้าที่พยุง รับนํ้าหนักร่างกาย
กะโหลกศีรษะ
กระดูกสันหลัง
กระดูกซี่โครง
กระดูกรยางค์ (Appendicular skeleton)
หน้าที่ช่วยร่างกายในการเคลื่อนไหว
กระดูกแขน
กระดูกสะบัก
กระดูกขา
กระดูกเชิงกราน
ประโยชน์ของระบบกระดูก
ป้องกันอวัยวะสําคัญที่อยู่ภายใน
คํ้าจุน พยุง โครงสร้างของร่างกาย
เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็น
เป็นแหล่งผลิตเม็ดเลือดให้แก่ร่างกาย
เป็นแหล่งเก็บสะสมแคลเซียมให้แก่ร่างกาย
ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular system)
กล้ามเนื้อลาย (Skeletal muscle)
เป็นกล้ามเนื้อที่ยึดติดกับกระดูก
การเคลื่อนไหว โดยการยืดและหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ
ร่างกายสามารถบังคับได้ ภายในอํานาจจิตใจ
กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle)
พบอยู่ตามอวัยวะภายใน
ต่างๆ เช่น ผนังลําไส้ ผนังกระเพาะอาหาร ผนังหลอดเลือด
การทำงานของกล้ามเนื้อเรียบถูกควบคุมโดยรับบประสาทอัตโนมัติ
กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle)
ถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ
การทํางานของกล้ามเนื้อชนิดนี้จะหดและคลายตัวเป็นจังหวะตลอดชีวิต
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Urinary system)
การขับของเสีย หรือขับสารพิษออกจากร่างกาย
เพื่อควบคุมสภาวะร่างกายให้คงที่
โครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ไต ทำหน้าที่ผลิตและขับถ่ายปัสสาวะเพื่อนำสารพิษและสารเคมีออกจากร่างกาย
ท่อไต
กระเพาะปัสสาวะ ทำหน้าที่เก็บพักน้ำปัสสาวะชั่วคราวก่อนขับออกจากร่างกาย
ท่อปัสสาวะ
ระบบไหลเวียนโลหิต (Vascular system)
โลหิตหรือเลือด ทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารต่างๆในร่างกาย
เส้นเลือด
เส้นเลือดดำ ทำหน้าที่นำเลือดที่นำไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
เส้นเลือดแดง ทำหน้าที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยังเส้นเลือดฝอย เพื่อนำไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
เส้นเลือดฝอย ทำหน้าที่นำเลือดจากหลอดเลือดแดงไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายและนำออกจากร่างกายไปยังหลอดเลือดดำ
หัวใจ ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย
ระบบประสาท (Nervous system)
สมอง เป็นรูปครึ่งวงกลมคว่ำ อยู่ในกะโหลกศรีษะ
ไขสันหลัง ทำหน้าที่ถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างสมองกับส่วนต่างๆของร่างกาย
เส้นประสาท มีลักษณะเป็นเส้นใยยาวๆ พบในเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆในร่างกาย
ระบบย่อยอาหาร(Digestive system)
กระบวนการเปลี่ยนโมเลกุลของอาหารที่มีขนาดใหญ่ให้เป็นโมเลกุลขนาดเล็กลง
จะดูดวึมเข้าสู่ร่างกายและเซลล์ร่างกายสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive system)
รักษาชาติพันธุ์ของมนุษย์ให้สืบทอดต่อไป
ระบบสืบพันธุ์เพศชายและหญิง
ป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้โดยง่าย