Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ
โรคหัด (MEASLES/RUBEOLA)
-สาเหตุ เชื้อไวรัส (paramyxovirus)
-ระยะฟักตัว ประมาณ 10 วันหลังจากได้รับเชื้อจนกระทั่งมีไข้ หรือประมาณ 14 วัน จนกระทั่งปรากฏผื่น
-การระบาดของโรค : ตลอดทั้งปี วัยเด็กมักเป็นโรคหัดอายุ 1-7 ปี อายุน้อยกว่า 6 เดือนมักไม่พบว่าเป็นโรคหัด
อาการและอาการแสดง
1.อาการนา : ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอ น้ามูกน้าตาไหล เยื่อบุตาอักเสบ กลัวแสง หนังตาบวม ทอนซิลโตและแดง ในวันที่ 2-3 ตรวจพบ Koplick’s spot ลักษณะเม็ดขาวเล็กๆขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบนเยื่อบุกระพุ้งแก้มที่แดงจัด หายไปหลังผื่นขึ้นประมาณ 2 วัน
2.ระยะออกผื่น : ประมาณวันที่ 3-5 หลังจากเป็นไข้ (T = 39.5 – 40.5 c) ตาแดงจัด ผื่น (Maculo-papular rash) เริ่มจากหลังใบหูและโคนผมที่ต้นคอ ใบหน้า ลาตัว แขนและขา ต่อมน้าเหลือง ม้ามโต
ระยะผื่นจางหาย : ประมาณวันที่ 5 – 8 ของโรค ไข้เริ่มลดลงและหายไปภายใน 2-3 วันอาจมีอาการไอ เมื่อผื่นถึงเท้าแล้วผื่นจางหายไปเหลือเป็นรอยสีคล้า
โรคแทรกซ้อน
สมองอักเสบ (Encepalitis)
ปอดอักเสบ (Broncho-pneumonia)
หูชั้นกลางอักเสบ (Otitis media)
เยื่อบุตาอักเสบ (Conjunctivitis)
ลำไส้อักเสบ (Enteritis)
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
เป็นโรคหัดขณะตั้งครรภ์ อาจทาให้เด็กตายคลอดหรือคลอดก่อนกาหนดได้
การรักษา
เป็นโรคที่หายได้เองไม่มีโรคแทรกซ้อนไม่มีความจาเป็นให้ยาต้านจุลชีพให้พักผ่อน ยาลดไข้ และให้น้าเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ถ้าติดเชื้อแบคทีเรียซ้า ต้องให้ยาต้านจุลชีพทีเหมาะสม
การป้องกัน
-การให้ภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันโรคหัดได้ทันที โดยให้ Gamma globulin ฉีดเข้ากล้ามเนื้อภายใน 5 วันหรือน้อยกว่า 6 วันหลังจากได้รับเชื้อ ให้ในเด็กเล็ก เด็กที่เจ็บป่วยเรื้อรัง หญิงมีครรภ์และผู้ที่มีระบบอินมูนบกพร่อง อยู่นาน 3-6 สัปดาห์-วัคซีนที่ทาจากเชื้อมีชีวิตฉีดเข้าใต้ผิวหนังครั้งเดียว ควรให้ในเด็กอายุไม่ต่ากว่า 1 ขวบ แอนติบอดี้จะเกิดประมาณ 12 วันหลังฉีด ถ้าให้ก่อนสัมผัสโรคทันทีหรือให้หลังสัมผัสโรคภายใน 48 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า 72 ชั่วโมง จะสามารถป้องกันโรคในเด็กอายุ 6-12 เดือน ควรฉีดซ้าอีกครั้งเมื่ออายุเกิน 12เดือน ไม่จาเป็นต้องฉีดเสริม
โรคหัดเยอรมัน(Rubella)
ไข้ออกผื่น ไม่รุนแรงในเด็ก แต่สาคัญ สตรีตั้งครรภ์เป็นโรคหัดเยอรมันในระยะเริ่มตั้งครรภ์ได้ 3-4 เดือน เชื้อไวรัสผ่านไปทารกในครรภ์ ทาให้เกิดความพิการทางหู ตา หัวใจ สมอง
เชื้อ rubella เป็น RNA ไวรัส
อยู่ในตระกูล Togaviridaeและในกลุ่ม rubi-virus
*ระยะติดต่อ คือ 2-3 วันก่อนมีผื่นขึ้นจนไปถึง 7 วันหลังผื่นขึ้น ทารกที่ติดเชื้อในครรภ์ เชื้อไวรัสอยู่ในลาคอและขับถ่ายออกมาทางปัสสาวะได้นานถึง 1 ปี
-การวินิจฉัยโรค แยกเชื้อไวรัสจากน้ามูก swab จากคอ เลือด ปัสสาวะ และน้าไขสันหลัง
-แยกผู้ป่วยครบ 7 วันหลังผื่นขึ้น ใน Congenital rubella อาจมีเชื้อได้นานถึง 1 ปี
-ติดตามตรวจเชื้อไวรัสใน nasopharynx และในปัสสาวะเมื่ออายุ 3-6 เดือนแล้วไม่พบเชื้อให้วัคซีนป้องกัน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด
-การแยกเด็กแบบ Respiratory Isolation ตั้งแต่มีอาการถึง 5-7 วัน หลังผื่นขึ้น
-Tepid spongeการ
-ดูแลทั่วๆไป ผิวหนัง ตา หู ปากฟันและจมูก
-ระยะไข้สูง ให้อาหารอ่อน หรืออาหารเหลว ดื่มน้ามากๆ
สังเกตอาการแทรกซ้อนอื่นๆ ข้ออักเสบให้แอสไพริน กรณีเกร็ดเลือดต่า และเลือดออกไม่หยุด อาจต้องใช้ยาสเตียรอยด์ ให้เกร็ดเลือด หรืออิมมูโนกลอบูลิน
โรคสุกใส
(Chickenpox/Vericella)
เชื้อไวรัส Varicella virus หรือ
Human herpes virus type 3ระยะฟักตัว 10-21 วันอาการนา มีไข้ต่าๆพร้อมกับผื่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร 1-2 วัน ปวดท้องเล็กน้อยลักษณะผื่น เริ่มจากจุดแดงราบ(macule) ขนาด 2-3mm. แล้วเปลี่ยนเป็นตุ่มนูน(papule)อย่างรวดเร็วภายใน 8-12 ชม. และตุ่มน้าใส(vasicle) ต่อมาเป็นตุ่มหนอง(pustule) แห้งตกสะเก็ด (crust)
ลักษณะเฉพาะคือ : พบผื่นระยะต่างๆในเวลาเดียวกัน
โรคแทรกซ้อน
-การติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง
-ปอดอักเสบ ข้ออักเสบ กระดูกอักเสบ
-สมองอักเสบ
-Reye’s syndrome
-Hemorrhagic chickenpox
-Disseminated varicella
ยาต้านไวรัส คือ Acyclovir (Zovirax) ทั้งชนิดกินและชนิดทา ชนิดฉีดให้ 200 mg 5 dose/day ทุก 4 ชม. เป็นเวลา 5 วัน
การวินิจฉัย ขูดพื้นของตุ่มใสมา smear บน slide พบ Multinucleated giant cell Intranuclear Inclusion /cmplementfixation/vesicle fluid
การป้องกัน ระยะแพร่เชื้อ เริ่มตั้งแต่ 24 ชั่วโมงก่อนที่ผื่นขึ้นจนตุ่มแห้งหมดแล้ว ควรอยู่ในห้องแยก strict isolation ควรหยุดเรียน
การพยาบาล
แยกผู้ป่วยไว้จนกว่าแผลตกสะเก็ดหมด พักผ่อน ใช้ dermapon ฟอก หรือให้คาลาไมน์โลชั่นทาหลังอาบน้า ให้ยาAntihistamine
ตัดเล็บมือให้สั้น ใส่ถุงมือในเด็กเล็กอาหารธรรมดา
สังเกตภาวะแทรกซ้อน วัคซีนป้องกันโรคสุกใส ถ้าสัมผัสโรคไม่เกิน 3 วัน ป้องกันโรคได้มากกว่า 90%
โรคคอตีบ
(Diphtheria)
สาเหตุ เชื้อแบคทีเรีย Corynebactrium diphtheriae (C.diphtheriae) รูปทรงแท่ง ย้อมติดสีแกรมบวก
ระบาดวิทยา พบในคนเท่านั้น ในจมูกหรือลาคอ โดยไม่มีอาการ ติดต่อกันทางไอ จามรดกัน พูดคุยระยะใกล้ชิด เชื้อเข้าทางปากหรือการหายใจ หรืออาจใช้ภาชนะร่วมกัน เช่น แก้วน้า ช้อน มักพบโรคคอตีบในชุมชนแออัด พบในเด็กอายุ 1-6 ปี ระยะฟักตัว 2-5 วัน อาจอยู่ได้ 2 สัปดาห์ถ้าไม่ได้รับการรักษา
อาการและอาการแสดง ไข้ต่าๆ อาการคล้ายหวัด ไอเสียงก้อง เจ็บคอรุนแรง เบื่ออาหาร ต่อมน้าเหลืองที่คอโตและบริเวณรอบๆ รุนแรงคอบวม “Bullneck” บางรายมีการกดทับเส้นเลือดดา jugular ทาให้ใบหน้ามีสีดาคล้าจากเลือดคั่ง มักมีอาการของ toxicemia อาการไข้สูง ซึม ชีพจรเบาเร็ว มือเท้าเย็น อาจเสียชีวิตจากภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลวได้คอพบแผ่นเยื่อสีขาวปนเทาติดอยู่บริเวณทอนซิล บริเวณลิ้นไก่ แผ่นเยื่อนี้เกิดจากพิษที่ออกมา มีน้ามูกปนเลือด มีกลิ่นเหม็น ถ้าลงหลอดคอ ทาให้ทางเดินหายใจตีบตัน หายใจลาบาก ถึงตาย
การวินิจฉัยโรค
ตรวจแผ่นเยื่อในลาคอ
การเพาะเชื้อ C.diphtheriaeโดยใช้ throat swab
การรักษา
: รีบนาส่งโรงพยาบาล รักษาโดยเร็ว
1.การให้ Diphtheria Antitoxin (DAT) ต้องรีบให้เร็วที่สุด เพื่อไปทาลาย Exotoxin ก่อนที่จะเกิดอันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจและปลายประสาท
2.ให้ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลิน เป็นเวลา 14 วัน หรือ Erythromycin แทน
3.ถ้าทางเดินหายใจตีบ ต้องเจาะคอเพื่อช่วยให้หายใจได้
4.ต้องมีการพักผ่อนอย่างเต็มที่ อย่างน้อย 2-3 สัปดาห์ ให้สารน้าทางหลอดเลือด ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็นระยะเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนทางหัวใจ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นปลายสัปดาห์ที่ 2
การป้องกัน
ต้องมีการแยกผู้ป่วยจากผู้อื่น อย่างน้อย 3 สัปดาห์ หลังเริ่มมีอาการ หรือตรวจเพาะเชื้อไม่พบเชื้อแล้ว 2 ครั้ง และต้องให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบแก่ผู้ป่วยที่หายแล้วทุกคนผู้ใกล้ชิดผู้ป่วย เนื่องจากโรคคอตีบติดต่อกันได้ง่าย จึงควรติดตามดูอาการอย่างใกล้ชิด โดยการเพาะเชื้อจากลาคอและติดตามอาการ 7 วัน ผู้ที่ไม่เคยได้รับวัคซีนป้องกันโรคมาก่อนหรือได้รับไม่ครบ ควรให้ยาปฏิชีวนะ เป็นเวลา 7 วันพร้อมเริ่มให้วัคซีน พร้อมให้ Diphtheria Antitoxin เช่นเดียวกับผู้ป่วยในเด็กทั่วไป โดยให้วัคซีนป้องกันคอตีบ 4 ครั้ง เมื่ออายุ 2,4,6 และ 18 เดือน และกระตุ้นอีกครั้งหนึ่งเมื่ออายุ 4-6 ปี (ต่อไปอาจกระตุ้นทุก 10 ปี)
ไอกรน
(Pertussis, Whooping cough)
สาเหตุ : เกิดจาก “เชื้อไอกรน” ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “บอร์เดเทลลาเพอร์ทัสซิส” (Bordetella pertussis) อยู่ในน้ามูก น้าลาย และเสมหะของผู้ป่วย
พยาธิสภาพ Bordetella pertussis มีหลายชนิดที่ทาให้เกิดพยาธิสภาพของโรคบางชนิดทาให้เชื้อเกาะติดกับเยื่อบุของขนพัดโบกของทางเดินหายใจการอักเสบของเยื่อบุ เกิดการตายที่หลอดลมเล็ก ทาให้เกิด bronchopneumoniaเกิดการอุดตันบริเวณ bronchiolar และปอดแฟบ
มีเลือดคั่งในเยื่อบุทางเดินหายใจ
การวินิจฉัยโรคไอกรน จากประวัติการสัมผัสโรค อาการไอติดต่อกันนานมากกว่า 2 สัปดาห์ขึ้นไป
การเพาะเชื้อ การตรวจหาแอนติบอดีหรือสารภูมิต้านทานการตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
วิธีรักษาโรคไอกรน
-ควรรีบไปพบแพทย์เมื่อมีอาการชัดเจนว่าเป็นโรคไอกรนการ
-รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ ควรให้ในระยะแรก (ระยะเป็นหวัด) ที่เริ่มมีอาการไม่เกิน 1 สัปดาห์ หรือให้ในเด็กที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ที่เริ่มป่วยเป็นโรคนี้แต่ยังไม่เกิดอาการ ซึ่งจะช่วยลดความรุนแรงและโรคแทรกซ้อนลงได้ แต่จะไม่ช่วยลดระยะเวลาของโรคให้สั้นลงได้ โดยยาปฏิชีวนะที่แนะนาให้ใช้คือ อิริโทรมัยซิน (Erythromycin) ขนาด 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน แบ่งให้วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน เป็นระยะเวลา 14 วัน (ยาปฏิชีวนะอื่นที่ใช้ได้ผล เช่น โคไตรม็อกซาโซล (Co-trimoxazole), ไรแฟมพิซิน (Rifampicin), อะซิโทรมัยซิน (Azithromycin),คลาริโทรมัยซิน (Clarithromycin) เป็นต้น) ถ้ามีอาการแสดงเกิน 1-2 สัปดาห์ (เข้าสู่ระยะไอรุนแรง) การใช้ยาปฏิชีวนะมักไม่ค่อยได้ผล ยกเว้นในรายที่มีปอดอักเสบหรือหลอดอักเสบแทรกซ้อน แต่ยังช่วยฆ่าเชื้อโรคที่อาจมีอยู่ให้หมดไปได้ในระยะ 3-4 วัน ซึ่งจะช่วยลดการแพร่กระจายของเชื้อได้
วิธีป้องกันโรคไอกรน
โรคนี้สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน (DTP vaccine) รวม 5 เข็ม โดยในเข็มแรกให้ฉีดตั้งแต่อายุ 2 เดือน, เข็มที่ 2 อายุ 4 เดือน, เข็มที่ 3 อายุ6 เดือน, เข็มที่ 4 อายุ 18 เดือน และเข็มที่ 5 เมื่ออายุประมาณ 4-6 ปี
บาดทะยัก
(Tetanus)
สาเหตุ การติดเชื้อบาดทะยัก Clostridium tetani เป็นเชื้อกรัมลบ เจริญได้ดีในสภาพที่ไร้ออกซิเจน สปอร์มีความคงทนมาก สามารถทนในน้าเดือด 100 „c ได้นานถึง 20 นาที ในที่ไร้แสงและความร้อนจะทนอยู่ได้นานหลายปีๆ และทนต่อน้ายาฆ่าเชื้อโรคได้ดีกว่าแบคทีเรีย การติดต่อ ทางบาดแผล ลักษณะลึก เป็นแผลปิด ทำให้ออกซิเจนเข้าไปไม่ถึง เช่น ถูกของแหลมต่า โดยเฉพาะบริเวณฝ่าเท้า ลึก สกปรก มีเนื้อตาย หูน้าหนวก ในทารกแรกเกิดทางสะดือ
อาการและอาการแสดง
ประมาณ 2-14 วัน ถ้าระยะเวลาฟักตัวน้อยกว่า 1 สัปดาห์ มักรุนแรง อัตราตายสูง ระยะดาเนินโรคของบาดทะยักได้เป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่บาดแผลมีเชื้อบาดทะยัก (wound bacterial stage) สามารถรักษาให้หายขาดได้โดยทาความสะอาดบาดแผลและทาลายเชื้อโรค
ระยะที่เชื้อบาดทะยักสร้างท็อกซินและเข้าสู่กระแสเลือด(tetanotoxemic stage)ในระยะนี้ท็อกซินยังไม่ได้เกาะติดกับระบบประสาทส่วนกลาง สามารถรักษาให้หายขาดได้โดยให้แอนตี้ท็อกซิน และทำความสะอาดบาดแผลและยาปฏิชีวนะทาลายเชื้อโรค
*ระยะสุดท้ายของบาดทะยัก (neurologic stage) เด็กจะชักเกร็ง กระตุก อาการจะเริ่มในระหว่างวันที่ 5-12 หลังได้รับเชื้อ กล้ามเนื้อจะค่อยเกร็ง โยเริ่มจากขากรรไกรแข็ง กลืนลาบาก อ้าปากไม่ขึ้นเกร็งประมาณ 5-10 วินาที คือ ลาตัวแข็งเหมือนท่อนไม้ หลังแอ่น ศีรษะตกไปด้านหลัง แขนขาเหยียดออก มือกาแน่น ใบหน้าแบบแสยะยิ้ม อาจมีอาการหายใจลาบาก เขียว ขาดออกซิเจน เกิดภาวะหายใจล้มเหลว ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เด็กเสียชีวิต
การรักษา
ให้การรักษาแบบประคับประคองให้ tetanus antitoxin (TAT) ทางหลอดเลือดดา และให้ toxiod หรือ TIG (tetanus immnoglobulin)ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น peniccilin, methacillin, gentamycinควบคุมอาการชัก ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ เช่น phenobarbital, chlorpromazine, diazepam ให้ประมาณ 2 สัปดาห์
การป้องกัน
ล้างแผลให้สะอาดเมื่อมีบาดแผล ฟอกสบู่เช็ดด้วยแอลกฮอล์ ใช้เครื่องมือที่สะอาดปราศจากเชื้อรวมทั้งการรักษาความสะอาดของสะดือ ด้วยการเช็ด 70%alcohol วันละ 2 ครั้ง ห้ามใช้แป้งหรือผงโรยให้วัคซีนป้องกันบาดทะยักและtetanus antitoxinหรือtoxiod ในรายที่แผลใหญ่หรือสกปรก ในรายที่เคยได้รับวัคซีนมาครบ และครั้งสุดท้ายไม่เกิน 5 ปี ไม่ต้องให้ซ้า ถ้าอยู่ในช่วง 5-10 ปี ให้วัคซีน0.5 ml. ครั้งเดียว เกิน 10 ปีหรือจาไม่ได้ และมีบาดแผลมานานเกิน 24 ชั่วโมง ให้วัคซีน 0.5 ml. ครั้งเดียว ร่วมกับtetanus antitoxin
การพยาบาล
-ทาความสะอาดบาดแผล หลังให้แอนตี้ท็อกซินนาน 1-2 ชม. ฟอก แผลด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
-ควบคุมการหดเกร็ง จัดให้อยู่ในห้องแยก ไม่รบกวนเด็กบ่อยเกิน สัมผัสเท่าที่จาเป็น-การเช็ดตัวลดไข้ คือ การคบเปียกชุบน้าอุ่นห่อตัวนาน 5 – 10 นาที ร่วมกับให้ยาลดไข้ -ให้ยากันชัก การให้ยากันชักมากกว่า 1 ชนิด ร่วมกัน ส่งเสริมฤทธิ์กดการหายใจได้ ควรสลับเวลาให้-ประเมินความถี่ของการชักเกร็ง ลักษณะ พูดด้วยน้าเสียงที่นุ่มนวล ดังพอได้ยิน
โรคคางทูม
(Mumps)
เป็นการอักเสบของต่อมน้าลาย : Parotid gland
พบมากในเด็กอายุ 6-10 ปี (< 3 ปีมักไม่พบ)สาเหตุ Paramyxovirus (อยู่ในน้าลาย/เสมหะ) การติดต่อ ไอ จาม หายใจรดกัน 1-2 วัน ก่อนเริ่มมีอาการจนถึง 9วันหลังจากต่อมน้ำลายพาราติดเริ่มบวม
โรคแทรกซ้อน
1.เยื่อหุ้มสมองอักเสบ * พบบ่อย
2.หูชั้นในอักเสบ ไตอักเสบ
3.ส่วนน้อยพบ orchitis (ลูกอัณฑะอักเสบ : ไข้สูง อัณฑะบวม ปวด อาจเป็นหมันได้)
การรักษา
1.รักษาตามอาการ : ให้นอนพัก ดื่มน้ามากๆ เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้
ปวด บวม : ประคบ บ้วนปากด้วยน้าเกลือบ่อยๆ
2.อัณฑะอักเสบ : ให้ prednisolone 1 mg/kg/day
การวินิจฉัยโรค
แยกเชื้อไวรัสจาก Throat washing จากปัสสาวะและน้าไขสันหลัง
การป้องกัน
ให้วัคซีนป้องกันคางทูม
วัณโรค
(Tuberculosis)
เป็นโรคติดต่อเรื้อรัง ทาให้มีการอักเสบในปอด สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis เป็น AcidFast Bacillus ย้อมติดสีแดง
การวินิจฉัยโรค
ประวัติการสัมผัสโรค
การทดสอบทูเบอร์คูลิน ใช้วิธีทดสอบMantoux ด้วย 5 tuberculin unit (TU)ของ PPD มาตรฐาน ถ้าให้ผลบวกมีขนาดรอยนูน 10 มิลลิเมตรภาพถ่ายรังสีปอด
วัณโรคของเด็กมีกอยู่ในกลุ่ม smear-negative pulmonary TB มักเป็นชนิดปฐมภูมิ ไม่มีโพรง ไม่ไอรุนแรง พบเชื้อในเสมหะน้อย จึงต้องส่งตรวจดูดน้าจากกระเพาะอาหาร
การย้อมสีทนกรดการวินิจฉัยชิ้นเนื้อ จากต่อมน้าเหลือง เยื่อหุ้มปอด
การตรวจ CT MRI
การรักษา
Combine drug อย่างน้อย 3 อย่าง (pyrazinamide,streptomycin,rifampin,isoniacid,ethabutol) กินยาต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
-เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี TT+ve ให้ INH นาน 2-4 เดือน-เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี วัณโรค
แยกผู้ป่วย 1-2 เดือนจนเสมหะไม่พบเชื้ออาหารโปรตีนสูง วิตามินสูง
Rest วัคซีนBCG
ไข้เลือดออก
Dengue hemorrhagic fever
เป็นโรคติดเชื้อที่นาโดยยุงลายบ้าน :Aedes aegypti
เชื้อไวรัสเดงกี เป็น single stranded RNA มี 4 serotypes : DEN1 , DEN2 , DEN3 , DEN4
การติดเชื้อซ้า(secondary infection) เป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญ
อาการจำเพาะไข้สูงลอย 2-7 วัน
อาการเลือดออกตับโต กดเจ็บ
ภาวะเลือดไหลเวียนล้มเหลว/ภาวะช็อก
การวินิจฉัย
touniquet test
1)วัดความดันโลหิต systolic + diastolic2) บีบความดันไว้ที่กึ่งกลางระหว่าง systolic และ diastolic
3) รัดค้างไว้ 5 นาทีจากนั้นคลายความดัน
4) ควรทิ้งไว้ประมาณ 1 นาทีจึงอ่านผลทดสอบ ถ้าพบจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง 10 จุด/ตร.นิ้วถือว่าให้ผลบวก ให้บันทึกผลเป็นจานวนจุดต่อตารางนิ้วสามารถให้ผลบวก
การรักษา
ระยะไข้สูง ให้ยาลดไข้เมื่อมีไข้สูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียส ห้ามให้แอสไพริน มีฤทธิ์ต้านการรวมตัวของเกร็ดเลือด ถ้าอาเจียนอาจให้ยาระงับการอาเจียนและให้ ORS น้อยๆบ่อยๆ
ระยะช็อค มุ่งแก้อาการช็อคและอาการเลือดออก ให้สารน้า ไม่ควรให้นานเกิน 24-48 ชม. โดยให้
Crystalloid solution เป็นน้ายาที่ประกอบด้วยโมเลกุลของสารละลายที่อยู่ในน้าหรือแลกโทส5%DNSS , 5%DLR ในเด็กโต ส่วนในเด็กเล็ก น้อยกว่า 1 ปีให้ใช้ 5% DN/2 ในระยะช็อกรุนแรงให้ 0.9% NSS เพราะอัตราที่มากกว่า 10 มล./กก./ชม. อาจทาให้เกิดน้าตาลในเลือดสูงได้ เริ่มที่10-20 มล./กก./ชม. จนสัญญาณชีพดีขึ้น จากนั้นปรับความเร็วตามความดันโลหิต15,10,5 มล./กก./ชม.
Colloidal solution เป็นน้ายาที่มีส่วนประกอบที่มีโมเลกุลใหญ่ละลายในน้า ใช้ในผู้ป่วย เกรด 3,4 ที่ได้รับ Crystalloid solution ขนาด 10 มล./กก./ชม. จานวน 2 ครั้งแล้วไม่ดีขึ้นยังอยู่ในภาวะช๊อก
ระยะพักฟื้น เป็นช่วงสารน้ากลับเข้าสู่หลอดเลือด จาเป็นต้องหยุดหรือลดให้สารน้าทางหลอดเลือดดาและหลีกเลี่ยงการทาหัตถการที่รุนแรงการจาหน่ายเด็กกลับบ้าน ควรมีไข้ลงนานกว่า 24 ชั่วโมง โดยไม่ได้ยาลดไข้ ฮีมาโตคริตคงที่อยู่ในระดับปกติประมาณร้อยละ 38 -40เกร็ดเลือดมากกว่า 50,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร ปัสสาวะออกมากกว่า 1-2 มล./กิโลกรัม/ชั่วโมง
โรคติดเชื้อHIV/AIDS ในเด็ก
โรคเอดส์ คือโรคที่เกิดภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเสื่อมไปเพราะถูกทาลายโดยเชื้อไวรัสที่เรียกว่า HIV (human immunodeficiencyvirus)จัดอยู่ในสายพันธุ์ Lentiviridae ในกลุ่ม retrovirus
การติดต่อ
-จากแม่สู่ลูก การกินมมารดา
-การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
-การมีเพศสัมพันธ์
การวินิจฉัยทาง Lab
1.HIV antibody test ตรวจพบหลังติดเชื้อ 2 wk-6 month: ELISA ,HIV CHEK , Recombigen HIV -1 Latex agglutination
HIV antigen test
Early detection of infection: IgM/IgA antibody , PCR (polymerase chain reaction technique , IVAP (In Vitro Antibody Production Assays)
Viral culture
การป้องกัน
-เลือกทาการผ่าตัดออกทางหน้าท้องก่อนเจ็บครรภ์คลอดและน้าเดิน
-ลดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
-วัคซีนฮิบฉีดเหมือนเด็กปกติ แม้จะอายุเกิน 2 ปี
-วัคซีนไข้หวัดใหญ่ควรพิจารณาให้ฉีดทุกปี การให้ครั้งแรกในเด็กอายุต่ากว่า 9 ปี ต้องให้ 2 เข็มห่างกัน 1 เดือน แต่ปีต่อมาให้เข็มเดียว
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-มีภาวะขาดสารน้าและสารอาหาร
-ไม่สุขสบายจากการติดเชื้อฉวยโอกาสและเสี่ยงต่อการติดเชื้อฉวยโอกาสเพิ่ม
-พัฒนาการล่าช้าและหยุดชะงัก
-เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน
-ซึมเศร้าเนื่องจากติดเชื้อ HIV
-วิตกกังวลเนื่องจากต้องเปิดเผยการติดเชื้อ HIV
กลัวการสูญเสียชีวิต
โรคไข้ซิก้า
(Zika fever)
สาเหตุ เชื้อไวรัสซิก้า (Zila Virus-ZIKV) มียุงลายบ้านเป็นพาหะสาคัญ (Aedes Aegypti) นาพาเชื้อไวรัส มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ซึ่งเป็นสาเหตุของไข้เลือดออก รวมทั้งไวรัสเวสต์ไนล์ที่เป็นสาเหตุของไข้สมองอักเสบ และเชื้อไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี ซึ่งทั้งหมดล้วนมียุงลายเป็นพาหะ
อาการ ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ผื่น ตาแดง ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ แต่อาการเหล่านี้สามารถทุเลาลงภายในเวลา 2-7 วัน หากได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที ไม่รุนแรงเท่าโรคไข้เลือดออก
การแพร่เชื้อผ่านทางเพศสัมพันธ์ เชื้อไวรัสซิกา สามารถอยู่ในน้าอสุจิได้นานกว่าของเหลวอื่น ๆ ในร่างกาย เช่น สารคัดหลั่งภายในช่องคลอด ปัสสาวะ และในเลือด
การแพร่เชื้อผ่านการบริจาคเลือด ผู้รับบริจาคเลือดพบโอกาสเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อไวรัสชนิดนี้จากการรับบริจาคเลือดจากผู้บริจาคที่มีเชื้อไวรัสซิกา แต่ยังพบได้น้อย
การรักษาโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนหรือยาในการรักษาโรคนี้โดยเฉพาะ แพทย์จะทาการรักษาตามอาการของผู้ป่วยที่พบเป็นหลัก นอกจากนี้ยังแนะนาให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามคาแนะนาต่อไปนี้ดื่มน้ามาก ๆ เพื่อป้องกันภาวะขาดน้านอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอรับประทานยาพาราเซตามอล ในกรณีที่เป็นไข้หรือมีอาการปวดห้ามรับประทานยาแอสไพริน ยาบรรเทาอาการปวดหรืออักเสบในกลุ่ม NSAIDs เพราะอาจทาให้เกิดเลือดออกในอวัยวะได้ง่ายขึ้น
โรคมือ เท้า และปากเปื่อย
Hand Foot Mouth Disease
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากการมีไข้ต่าๆ เจ็บคอ มีผื่นขึ้นผื่นเริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ เจ็บ ต่อมาเป็นตุ่มน้าขนาด 3-7 mm. ไม่เจ็บแห้งใน 1 wk. มีแผลหรือผื่นในช่องปาก : ลิ้น เยื่อบุช่องปาก เหงือก เพดาน ริมฝีปาก เป็นตุ่มใสขนาด 1-3 mm. แล้วแตกเป็นแผลอาการเจ็บปาก ตรวจร่างกายจะพบมีรอยโรคในบริเวณปาก มือ และเท้าตามมา
การวินิจฉัย
ดูจากอาการและอาการแสดง (clinical diagnosis) ตรวจร่างกายพบรอยโรคจาเพาะที่บริเวณมือ เท้า ปาก ร่วมกับมีไข้ตรวจรอยโรคที่ผิวหนังโดยวิธีทางพยาธิวิทยาจะพบเม็ดเลือดขาวชนิด neutrophil และ lymphocyte เพิ่มขึ้นตรวจร่องรอยการติดเชื้อจากน้าเหลือง สาหรับประเทศไทยใช้วิธี micro- neutralizationการส่ง throat swab โดยส่งตรวจที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขการเก็บอุจจาระ (stool) ส่งตรวจที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อตรวจด้วยการเพาะเชื้อหรือ serologyการส่งน้าไขสันหลัง (CSF) ตรวจทาง serology, PCR technique
การรักษา
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการ หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคที่สามารถหายได้เอง โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน ลดอาการเจ็บปวด จากแผลในปาก โดยใช้ยาชาป้ายบริเวณที่เป็นแผลก่อนรับประทานอาหารในกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนให้รักษาตามอาการเป็นส่วนใหญ่ หลังจากการติดเชื้อผู้ป่วยจะมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสที่ก่อโรค แต่อาจเกิดโรคมือ เท้า ปาก ซ้าได้จาก enterovirus ตัวอื่นๆ
การป้องกัน
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคออกจากกลุ่มเพื่อนในโรงเรียน สถานเลี้ยงเด็ก โดยเน้น contact isolation เป็นหลัก มีรายละเอียดดังนี้แยกเด็กป่วยไม่ให้ร่วมกิจกรรมกับเด็กอื่น เช่น ว่ายน้า ไปโรงเรียน ใช้สนามเด็กเล่น เป็นเวลา 1 สัปดาห์ผู้ดูแลเด็กล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะหลังเปลี่ยนผ้าอ้อม หรือ สัมผัสกับน้ามูก/น้าลายของเด็กทาความสะอาดพื้น ห้องน้า สุขา เครื่องใช้ ของเล่น สนามเด็กเล่น ตลอดจนเสื้อผ้าที่อาจปนเปื้อนเชื้อ ด้วยน้ายาฆ่าเชื้อที่ใช้ทั่วไปภายในบ้านออยู่ในอุจจาระได้นาน 6-12 สัปดาห์
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
ผิวหนังมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
1.โรคแผลพุพอง (Impetigo) ติดเชื้อที่ผิวหนังชั้นนอก ไม่เกิดแผลเป็น เกิดจากเชื้อ streptoccoci /staphylococci มี 2 ชนิดคือ- Nonbullous streptococal impetigo-Bullous impetigo
Cellulitis เป็นการอักเสบของผิวหนังชั้นลึก subcutaneous tissue มีการบวมแดงและเจ็บปวด มักเกิดจากบาดแผล หรือ trauma เป็นเชื้อ Group A Beta hemolyticstreptococus
การรักษา
ทาความสะอาดด้วยสบู่หรือน้ายาฆ่าเชื้อโรค วันละ 2-3 ครั้ง และ wet dressing บริเวณที่มีนาเหลืองแห้งกรังด้วย nss ยาที่ใช้ bactroban , fucidinให้ยาปฏิชีวนะครอบคลุมเชื้อ เช่น cloxacillin, erytromycin,amoxicillin, cefazolin,cephalexinHygine careหลีกเลี่ยง skin traumaในรายที่ crust คลุมหนา ใช้ wet dressing เพื่อให้หลุดลอกในรายเป็นฝีแล้วเป็น fluctuate ต้องผ่าหนองออก
ผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
หูด (warts) เกิดจากเชื้อไวรัสทาให้เซลล์ผิวหนังแบ่งตัวมากกว่าปกติ เกิดเป็นติ่งเนื้อหรือตู่มนูน
สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Human papilloma virus (HPV)ลักษณะ 1. หูดธรรมดา
หูดชนิดราบ3. หูดที่ฝ่าเท้า
หูดชนิดติ่ง5. หูดหงอนไก่
การรักษา
ใช้สารเคมี การรักษาด้วยความเย็น การผ่าตัด การใช้แสงเลเซอร์ การรักษาด้วยระบบอิมมูน
ผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคกลาก (dermatpophytosis) เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรากลุ่ม dermatophyte
โรคเกลื้อน (tinea vesicolor)เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรากลุ่มยีสต์Candidiasis เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อราในกลุ่ม genus candida พบบ่อยมากในเด็ก ซึ่งเป็นเชื้อประจาถิ่น
โรคผิวหนังจากเชื้อปรสิต
โรคหิด (scabies) พบบ่อยในเด็ก
สาเหตุ เกิดจากตัวหิด sarcoptes scabiei var hominis
ลักษณะ ผื่นนูนแดงขนาดเล็ก หรือตุ่มน้าใสขนาดเล็กการวินิจฉัยโรค ตรวจ KOH
การรักษา การซักเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน ยาแก้คัน ใช้ยาทา ใช้ยาปฏิชีวนะในรายติดเชื้อแบคทีเรีย
เหาศีรษะ (head louse)
สาเหตุ Pediculus humanus var capitis
ลักษณะ คันศีรษะ เกาจนถลอก
การวินิจฉัยโรค ตรวจไข่เหา
การรักษา การตัดผมสั้น การทาความสะอาดเครื่องนอน การสระผมด้วยแชมพูยา ใช้เม็ดน้อยหน่าตาหมักผม การหวีเอาไข่เหาออก การให้ยาปฏิชีวนะ
โรคผิวหนังอักเสบ
ผิวหนังอักเสบ (Eczematous dermatitis) เป็นการอักเสบของผิวหนัง คัน อาจเกิดจากสาเหตุภายในหรือภายนอกเป็นตัวกระตุ้น แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
1.Acute stage ผิวแดง บวมมีตุ่มน้า น้าเหลืองไหล สะเก็ดน้าเหลืองและคัน
2.Subacute stage ผื่นเริ่มแห้งมีสะเก็ดเล็กน้อยและคันมากขึ้น
3.Chronic stage ตุ่มแดง ขุย รอยเกา ผิวหนังแข็งหนาดา และคันเพิ่มมากขึ้น
สาเหตุ มักพบในเด็กอายุ 2-3เดือน และ2-3 ปี
ภูมิแพ้ ไวต่อสิ่งกระตุ้น ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การติดเชื้อ
1.Atopic dermatitis เป็นโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังที่พบ่อยที่สุดในเด็ก
Seborrheic dermatitis เป็นโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังที่พบ่อยในเด็กทารกและวัยรุ่น
Diaper dermatitis เป็นโรคผิวหนังอักเสบที่เกิดบริเวณผิวหนังที่นุ่งผ้าอ้อม
การรักษา
-Acute stage ใช้ Wet dressing ด้วยน้าเกลือ น้าละลายด่างทับทิม
-Subacute stage ทา corticosteroid cream
-Chronic stage ใช้ keratolytic agent ร่วมกับ corticosteroid cream หรือ ointment ทาเพื่อให้ผิวหนังบางลงยาลดคัน
ต้องแห้งสะอาด ไม่หมักหมมทาวาสลินหรือ zinc oxide cream เพื่อไม่ให้ผิวหนังสัมผัสกับปัสสาวะ อุจจาระ
ถ้าผิวหนังอักเสบมากอาจให้ยาต้านเชื้อราร่วมด้วย