Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ - Coggle…
บทที่ 7 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ
Urinary tract infection
(UTI)
สาเหตุ
การติดเชื้อแบบธรรมดา (Uncomplicated UTI)
เป็นการติดเชื้อโดยไม่มีความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะเป็นสาเหตุนำ
การติดเชื้อแบบซับซ้อน (Complicated UTI)
อาการ
:
ทารกแรกเกิด : ไข้ เบื่ออาหาร ไม่ดูดนม เลี้ยงไม่โต อาเจียน ซึม น้ำหนักลด ชัก ไม่รู้สึกตัว sepsis
ทารก (1 เดือน- 1 ปี) :ไข้สูง ร้องปวดท้อง ปัสสาวะบ่อย เบ่งปัสสาวะขัด ร้องกวน โยเย ปัสสาวะเป็นเลือด
เด็กเล็ก (1 – 3 ปี): มีไข้สูง เบื่ออาหาร อาเจียนอุจจาระร่วง ปัสสาวะขัด หรือมีไข้สูง ชัก
เด็กวัยก่อนเรียน (3 – 6 ปี) :อาการจะบ่งชัดว่ามีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ ได้แก่ ปวดท้องส่วนล่าง ปัสสาวะขัด ลำบาก
เด็กวัยเรียน : มีอาการเด่นชัด เช่น ไข้ ปวดท้องสามารถบอกบริเวณที่ปวด ถ่ายปัสสาวะบ่อย ขัด กลั้นปัสสาวะไม่ได้ กดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง
การรักษา
รักษาการติดเชื้อ ระบุปัจจัยที่ทำให้มีการติดเชื้อเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ การป้องกันสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการติดเชื้อและการส่งเสริมประสิทธิภาพการทำงานของไต
ดูแลการให้อาหารและน้ำ ยาลดไข้ แก้ไขภาวะความเป็นกรดโดยให้อาหารโปรตีนต่ำ
การให้ยาปฏิชีวนะ ดูจากผลการเพาะเชื้อและการตอบสนองต่อยาตัวใด เช่น Amoxycillin ,Gentamycin, Amikacin
ในรายที่กลับเป็นซ้ำ ดื้อยาได้ง่าย Sulfonamide,Bactrim, Trimethroprim
ในรายที่ติดเชื้อเรื้อรังจากความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ Co-trimoxazole
Acute
Pyelonephritis
สาเหตุ
: เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ที่พบบ่อยได้แก่เชื้ออีโคไล (E.coli) เป็นเชื้อที่พบในอุจจาระของคนทั่วไปเชื้อโรคจะเข้าสู่กรวยไต โดยเริ่มจากการแปดเปื้อนที่ผิวหนังรอบๆ ปัสสาวะ ผ่านกระเพาะปัสสาวะย้อนขึ้นไปตามท่อไต เข้าไปในกรวยไต แล้วเชื้อมีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนจนก่อให้เกิดโรคขึ้นมา
อาการ
: มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อัดมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนร่วมด้วย มักมีอาการปวดท้อง ปวดบั้นเอวข้างใดข้างหนึ่ง และปัสสาวะขุ่นบางรายอาจมีอาการถ่ายปัสสาวะแสบขัด และออกกะปริดกะปรอยร่วมด้วย
การรักษา
:
1.รักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ ให้น้ำเกลือทางหลอดเลือดดำ (กรณีที่ผู้ป่วยกินไม่ได้ หรืออาเจียน ) การให้ยาปฏิชีวนะ นาน 14 วัน
2.ในรายที่มีการรุนแรง หรืออาเจียน กินอะไรไม่ได้ แพทย์จะรับตัวผู้ป่ วยไว้รักษาในโรงพยาบาล ให้น้ำเกลือ และฉีดยาปฏิชีวนะ จนกว่าอาการดีขึ้นจึงจะเปลี่ยนมาใช้ยาฉีดยาปฏิชีวนะ จนกว่าอาการดีขึ้นจึงจะเปลี่ยนมาใช้ยาปฏิชีวนะชนิดกิน
3.แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ เพื่อช่วยขับเชื้ออกทางปัสสาวะ บำรุงร่างกายด้วยอาหารโดยเฉพาะอย่างยิ่ง อาหารพวกโปรตีน
พักผ่อนให้เพียงพอ
4.หลังจากอาการทุเลาจนหายเป็นปกติแล้ว แพทย์จะนัดผู้ป่วยมาตรวจปัสสาวะเป็นระยะๆ เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีการติดเชื้อหลงเหลืออยู่หรือกลายเป็นกรวยไตอักเสบเรื้อรัง
Acute
Glomerulonephritis
พบบ่อยที่สุด ช่วงอายุ 2-12 ปี พบมากที่สุด อายุ 6 ปีจะเกิดภายหลังการติดเชื้อ โดยถ้าติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน (ช่วงฤดูฝนต่อฤดูหนาว เกิดจากการติดเชื้อในลำคอบ่อย) เพศชาย: หญิง 2:1 ถ้าเกิดจากการติดเชื้อที่ผิวหนัง พบบ่อยในฤดูร้อน เท่ากันทั้งสองเพศ
อาการ
: บวมทั้งตัว ปัสสาวะออกน้อยกว่า 100cc/day
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เบื่ออาหาร 2-3 วันก็หาย Hypertensionไม่ควรเกิน
3 สัปดาห์ เกิดอาการหอบ นอนราบไม่ได้
การวินิจฉัย
: การตรวจปัสสาวะ การตรวจเลือด การตรวจน้ำเหลืองวิทยา การตัดชิ้นเนื้อไต
การรักษา
:
การรักษาแบบประคับประคอง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจาก เช่น ไตวาย ความดันโลหิตสูง hypervolemia ทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำและหัวใจวาย
การพักผ่อน bed rest ในรายที่มีความดันโลหิตสูงปานกลางถึงสูงมาก หรือบวมมาก
จำกัดน้ำเมื่อมีปัสสาวะออกน้อยและมีการคั่งของ BUN Creatinine
งดกิจกรรมทีออกก าลังกายอย่างหนัก เช่น กีฬากลางแจ้งเป็ นเวลา 1 ปี
อาการบวม จำกัดเกลือ ให้ยาขับปัสสาวะ furosemide 1-2 มก./กก./ครั้ง ทางหลอดเลือดดำ
ความดันโลหิตสูง ปานกลางจำกัดเกลือ+ยาขับปัสสาวะ
การพยาบาล
ไม่สามารถคงไว้ซึ่งการขับถ่ายปัสสาวะตามปกติได้ เนื่องจากมีการบาดเจ็บของโกลเมอรูลัส
มีน้ำคั่งและมีภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์เนื่องจากไตเสียหน้าที่ในการกรองปัสสาวะ
เสี่ยงต่ออันตรายจากภาวะความดันโลหิตสูง
Nephrotic syndrome
สาเหตุ
Congenital nephrotic syndrome
ถ่ายทอดแบบ autosomal recessive อายุแรกเกิดหรือภายใน 3 เดือนแรก
Primary nephrotic syndrome
พบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง พบบ่อยในอายุ 2-7ปี
Secondary nephrotic syndrome
กลุ่มทราบสาเหตุ เกิดจากยา สารก่อให้เกิดการแพ้ การติดเชื้อSLE, Henoch schoenlein purpura, เบาหวาน
อาการ
: การบวม ระบบทางเดินอาหาร การหายใจลำบาก ความดันโลหิตสูง ผิวซีด แตก เส้นผมหยาบและแห้ง ติดเชื้อง่าย พบบ่อยคือไฟลามทุ่ง เยื่อบุช่องท้องอักเสบ และ septicemia
หลักสำคัญในการดูแล
1.การจำกัดกิจกรรม
2.การให้อาหาร
3.การดูแลผิวหนัง
4.การป้องกันการติดเชื้อ
5.การให้ภูมิคุ้มกันลูก
6.การรักษาอาการบวม
7.ความดันโลหิตสูง
8.การดูแลด้านจิตใจของเด็กและครอบครัว
ภาวะพร่องไธรอยด์ฮอร์โมน (Hypothyroidism)
ภาวะพร่องไธรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
สาเหตุ
: ต่อมไทรอยด์มีขนาดเล็กกว่าปกติ หรืออยู่ผิดที่ การผลิตและหลั่งฮอร์โมนผิดปกติ การท่องไทรอยด์ฮอร์โมน เกิดจากความผิดปกติของต่อมใต้สมองหรือไฮโปทาลามัส
อาการ
: ตัวเล็กเมื่อเทียบกับอายุ ตัวอ่อนปวกเปียก นอนหลับมากไม่ค่อยร้องกวน ตัวเหลืองนาน สะดือจุ่น ผิวลายแห้งหยาบ ลิ้นโตคับปาก กระหม่อมหน้าหลังกว้าง ขับถ่ายขี้เทาช้า ท้องอืดท้องผูก
การรักษา
: การรักษาและติดตามให้มีระดับไทรอยด์ฮอร์โมนอยู่ในเกณฑ์ปกติ การเจริญเติบโต พัฒนาการไทรอยด์ function Test และอายุกระดูก ระวังยาเกินขนาด ประเมินหัวใจเต้นเร็วไม่เป็นจังหวะ หงุดหงิด ขี้ร้อน เหงื่อออกมาก น้ำหนักไม่ขึ้น ในทารกทำให้การปิดของกระหม่อมเร็วเกินไป ทำให้สมองไม่มีการเจริญเติบโต
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนที่เป็นภายหลังเกิด
(Acquired Hypothyroidism)
อาการ
: ร่างกายเตี้ยล้ำ การเจริญเติบโตช้า ปัญญาทึบ ความจำด้อย ผมแห้งเปราะ ขนคิ้วบาง ผิวหยาบซีดบาง เล็บบาง ท้องป่อง ท้องผูกเรื้อรัง
การรักษา
:โดยการให้ยาไธรอกซิน โดยให้ชนิดรับประทาน
เบาจืด
(Diabetes insipidus:DI)
เบาจืด
คือโรคที่เกิดจากความล้มเหลวของPosterior pituitary grand ในการหลั่ง ADH ทำให้เกิดความพร่องหรือขาด ADH ส่งผลให้ไตไม่สามารถดูดน้ำกลับได้ร่างกายไม่สามารถควบคุมปริมาณน้ำและPlasma osmolarity ให้คงที่ได
เบาจืดจากความผิดปกติของสมอง (Neurogenic หรือ Central DI)
สาเหตุ
: เกิดจากการขาด ADH
อาการ
: ผู้ป่วยจะปัสสาวะ > 30-40 มล./กก./วัน และมี urine osmolarity <300 mOsm/l และมีการสูญเสียน้ำทางปัสสาวะและอาจทำให้เกิดภาวะขาดน้ำได้
การรักษาโรคเบาจืด
ถ้าผู้ป่วยไม่มีConcurrents loss อื่นๆ : ให้เกิด Total fluid intake = urine output + insensible water loss
ให้ DDAVP เป็น long acting ADH โดยพ่นทางจมูกหรือฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ปริมาณสารน้ำใน 24ชม. ค านวณตามแคลอรีที่เด็กควรได้รับตามสูตร Holliday & Segar
สำหรับผู้ป่วยเบาจืดที่มี ADH บ้าง ควรให้ chlorpropamide เพื่อทำให้มีการตอบสนองต่อ ADH ดีขึน ้
เบาจืดจากความผิดปกติของไต (Nephrogenic DI)
สาเหตุ
: เกิดจากไตไม่ตอบสนองต่อ ADH สามารถถ่ายทอดทางโครโมโซมเพศได้ (X-Linked recessive)
อาการ
: ปัสสาวะมากผิดปกติ ทารกมีอาการขาดน้ำ กระสับกระส่าย มีไข้ โดยไม่มีอาการติดเชื้อ เลี้ยงไม่โต อาจมีอาการชัก มีภาวะ Hypernatremia พัฒนาการช้า
การรักษา
โดยการจำกัดเกลือ
ให้ยาช่วยลดปริมาณปัสสาวะ เช่น Thiazides,
Chlorothiazide, Hydrochlorothiazide ซึมน้ำกลับที่ proximal tubule ลดการซึมกลับ
ของโซเดียมที่ distal tubule และเพิ่มการขับโซเดียมในปัสสาวะ
การพยาบาล
ดูแลปัญหาการขาดน้ำและมีภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์
ผู้ป่วยที่สร้าง ADH ได้บ้าง ให้ chlorpropamide และสังเกตอาการข้างเคียงคือภาวะ Hypoglycemia
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
โรคเบาหวานในเด็ก
(Juvenile Diabetes)
อาการ
: ปัสสาวะมาก (Polyuria) ดื่มน้ำมาก (Polydyspsia) กินจุ (Polyphagia) น้ำหนักลด (Weight loss)
สาเหตุ
: ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง อาจเกิดจากพันธุกรรม การติดเชื้อที่ทำให้ตับอ่อนถูกทำลาย
การรักษา
: การรักษาไม่หายขาด แต่ปรับตัวได้ คือการให้อินซูลินทดแทน ดูแลระดับน้ำตาลให้ได้ค่าในช่วง 80-150มก./ดล. มีค่า HbA1C < ร้อยละ 7 ร้อยละ 6-9 แสดงว่าควบคุมเบาหวานได้ดีมาก ร้อยละ 9-12 พอใช้ ร้อยละเกิน 12 ควบคุมไม่ดี
ภาวะแทรกซ้อน
: Hypoglycemia Diabetic Ketoacidosis (DKA)
การพยาบาล
การควบคุมระดับน้ำตาล
การควบคุมระดับความดันโลหิต
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต
การใช้ยาอย่างถูกต้อง
ส่งเสริมให้มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการตามวัย
ส่งเสริมให้มีการออกกำลังกาย