Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ
โรคติดเชื้อที่ป้องกันด้วยวัคซีน
หัด
สาเหตุ
เชื้อไวรัส (paramyxovirus)
อาการและอาการแสดง
อาการนำ
ตรวจพบ Koplick’s spot ลักษณะเม็ดขาวเล็กๆขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบนเยื่อบุกระพุ้ง
แก้มที่แดงจัด
ระยะออกผื่น
ตาแดงจัด ผื่น (Maculo-papularrash) เริ่มจากหลังใบหูและโคนผมที่ต้นคอ ใบหน้า ลำตัว แขนและขา ต่อมน้ำเหลือง ม้ามโต
ระยะผื่นจางหาย
ประมาณวันที่ 5 –8 ของโรค ผื่นจางหายไปเหลือเป็นรอยสีคล้ำ
ระยะ
ฟักตัว
8-12 วัน
ติดต่อ
ประมาณ10วันหลังจากได้รับเชื้อจนกระทั่งมีไข้
การระบาด : ตลอดทั้งปี
การวินิจฉัย
Koplick’s spot
ตัวอย่างเสมหะ เยื่อเมือกที่จมูก
กราตรวขทางน้ำเหลือง
การตรวจเลือด
โรคแทรกซ้อน
สมองอักเสบ
ปอดอักเสบ
หูชั้นกลางอักเสบ
การรักษา
ให้พักผ่อน ยาลดไข้ และให้น้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ถ้าติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ ต้องให้ยาต้านจุลชีพทีเหมาะสม
การป้องกัน
การให้ภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันโรคหัดได้ทันที โดยให้Gamma globulin ฉีดเข้ากล้ามเนื้อภายใน 5วันหรือน้อยกว่า 6วันหลังจาก ได้รับเชื้อ
หัดเยอรมัน
ระยะติดต่อ :2-3 วันก่อนมีผื่นขึ้นจนไปถึง 7 วันหลัง ผื่นขึ้น ทารกที่ติดเชื้อในครรภ์ เชื้อไวรัสอยู่ในลำคอและ ขับถ่ายออกมาทางปัสสาวะได้นานถึง 1 ปี
ระยะฟักตัว : 14-21 วัน เฉลี่ย 16-18 วัน
การวินิจฉัยโรค
แยกเชื้อไวรัสจากน้ำมูก swab จากคอ เลือด ปัสสาวะ และน้ำไขสันหลัง
แยกผู้ป่วยครบ 7วันหลังผื่นขึ้นใน Congenital rubella อาจ มีเชื้อได้นานถึง 1 ปี
ติดตามตรวจเชื้อไวรัสใน nasopharynx และในปัสสาวะเมื่อ อายุ 3-6 เดือนแล้วไม่พบเชื้อ ให้วัคซีนป้องกัน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด
การแยกเด็กแบบ Respiratory Isolation ตั้งแต่มีอาการถึง 5-7วัน หลังผื่นขึ้น
Tepid sponge
สังเกตอาการแทรกซ้อนอื่นๆ ข้ออักเสบให้แอสไพริน กรณีเกร็ดเลือดต่ำ และ เลือดออกไม่หยุดอาจต้องใช้ยาสเตียรอยด์ ให้เกร็ดเลือด หรืออิมมูโนกลอบูลิน
สาเหตุ : เชื้อ rubella เป็น RNA ไวรัส อยู่ในตระกูล Togaviridae และในกลุ่ม rubi-virus
สุกใส
สาเหตุ :เชื้อไวรัส Varicella virus หรือ Human herpes virus type 3
ระยะฟักตัว : 10-21 วัน
อาการนำ : มีไข้ต่ำๆพร้อมกับผื่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร 1- 2วัน ปวดท้องเล็กน้อย
ลักษณะผื่น :เริ่มจากจุดแดงราบ(macule)ขนาด 2-3mm. แล้ว เปลี่ยนเป็นตุ่มนูน(papule)อย่างรวดเร็วภายใน 8-12 ชม. และตุ่มน้ำ ใส(vasicle) ต่อมาเป็นตุ่มหนอง(pustule) แห้งตกสะเก็ด (crust)
โรคแทรกซ้อน
การติดเชื ้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง
ปอดอักเสบ ข้ออักเสบ กระดูกอักเสบ
สมองอักเสบ
Hemorrhagic chickenpox: เกร็ดเลือดต่ำ
Disseminated varicella : อีสุกอีใสชนิดแพร่กระจายไปอวัยวะภายใน
ยาต้านไวรัส : Acyclovir (Zovirax) ทั้งชนิดกินและชนิดทา ชนิด ฉีดให้ 200 mg 5 dose/day ทุก 4ชม. เป็นเวลา 5วัน
การวินิจฉัย : ขูดพื้นของตุ่มใสมา smear บน slide พบ Multinucleated giant cell Intranuclear Inclusion /cmplement fixation/vesicle fluid
การป้องกัน : ระยะแพร่เชื้อ เริ่มตั้งแต่ 24 ชั่วโมงก่อนที่ผื่นขึ้นจนตุ่ม แห้งหมดแล้ว ควรอยู่ในห้องแยก strict isolation ควรหยุดเรียน
การพยาบาล
แยกผู้ป่วยไว้จนกว่าแผลตกสะเก็ดหมด พักผ่อน ใช้ dermapon ฟอก หรือให้คาลาไมน์โลชั่นทาหลังอาบน้ำ ให้ยา Antihistamine
ตัดเล็บมือให้สั้น ใส่ถุงมือในเด็กเล็ก
วัคซีนป้องกันโรคสุกใส ถ้าสัมผัสโรคไม่เกิน 3วัน ป้องกันโรคได้ มากกว่า 90%
คางทูม
สาเหตุ
Paramyxovirus (อยู่ในน้ำลาย/เสมหะ)
การติดต่อ
ไอ จาม หายใจรดกัน 1-2วัน ก่อนเริ่มมีอาการจนถึง 9 วันหลังจากต่อมน้ำลายพาราติดเริ่มบวม
ระยะฟักตัว : 12-25 วัน
อาการ : ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ขากรรไกรบวมแดง ปวดร้าวไปที่หูขณะกลืน เคี้ยว อ้าปาก อาการบวมจะค่อยๆยุบหายไปใน 7-10วัน
โรคแทรกซ้อน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
หูชั้นในอักเสบ ไตอักเสบ
ส่วนน้อยพบ orchitis
การรักษา
รักษาตามอาการ ให้นอนพัก ดื่มน้ำมากๆ เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้
ปวด บวม : ประคบ บ้วนปากด้วยน้ำเกลือบ่อยๆ
อัณฑะอักเสบ : ให้ prednisolone 1 mg/kg/day
การวินิจฉัย
แยกเชื้อไวรัสจาก Throat washingจากปัสสาวะและน ้าไขสันหลัง
แยกผู้ป่วย 9 วันหลังเริ่มมีอาการบวมของต่อมน้ำลาย
การป้องกัน ให้วัคซีนป้องกันคางทูม
คอตีบ
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย Corynebactrium diphtheriae (C.diphtheriae) รูปทรงแท่ง ย้อมติด สีแกรมบวก
ระบาดวิทยา
ติดต่อกันทางไอ จามรดกัน พูดคุยระยะใกล้ชิด เชื้อเข้าทางปากหรือการหายใจ หรืออาจใช้ภาชนะร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
้ต่ำๆ อาการคล้ายหวัด ไอเสียงก้อง เจ็บคอรุนแรง เบื่ออาหาร ต่อมน้ำเหลืองที่คอโตและบริเวณรอบๆ รุนแรงคอบวม Bullneck
โรคแทรกซ้อน
การอุดตันของทางเดินหายใจส่วนบน
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
การวินิจฉัยโรค
ตรวจแผ่นเยื่อในลำคอ การเพาะเชื้อ C.diphtheriae โดยใช้throat swab
การรักษา
การให้ Diphtheria Antitoxin (DAT) ต้องรีบให้เร็วที่สุดเพื่อไปทำลาย Exotoxin ก่อนที่จะเกิดอันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจและปลายประสาท
ให้ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลิน เป็นเวลา 14 วัน หรือ Erythromycin แทน
ถ้าทางเดินหายใจตีบ ต้องเจาะคอเพื่อช่วยให้หายใจได้
การป้องกัน
เด็กทั่วไป โดยให้วัคซีนป้องกันคอตีบ 4 ครั้ง เมื่ออายุ 2,4,6 และ 18 เดือน และกระตุ้นอีก ครั้งหนึ่งเมื่ออายุ 4-6 ปี (ต่อไปอาจกระตุ้นทุก 10 ปี)
ไอกรน
สาเหตุ
เกิดจาก “เชื้อไอกรน” ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อว่า “บอร์เดเทลลาเพอร์ทัส ซิส” (Bordetella pertussis) อยู่ในน้ำมูก น้ำลาย และเสมหะของผู้ป่วย
พยาธิสภาพ
บางชนิดทำให้เชื้อเกาะติดกับเยื่อบุของขนพัดโบกของทางเดินหายใจ
การอักเสบที่เยื่อบุเกิดการตายที่หลอดลมเล็กทำให้เกิด bronchopneumonia
เกิดการอุดตันบริเวณ bronchiolar และปอดแฟบ
มีเลือดคั่งในเยื่อบุทางเดินหายใจ
ระยะฟักตัวของโรค
ตั้งแต่ได้รับเชื้อจนแสดงอาการจะใช้เวลาประมาณ 5-21 วัน
ระยะติดต่อ
ตั้งแต่เริ่มมีอาการ (ระยะเป็นหวัด) จนถึง 3 สัปดาห์หลังจากเริ่มมีอาการไอรุนแรง (Paroxysmal phase)
อาการของโรคไอกรน
ระยะเป็นหวัด หรือ ระยะเยื่อเมือกทางเดินหายใจอักเสบ : ผู้ป่วยจะมีอาการเหมือนโรคหวัดธรรมดาทั่วไป
ระยะไอรุนแรง หรือ ระยะอาการกำเริบ (Paroxysmal phase) : มีอาการไอรุนแรงและหลังการไอสิ้นสุดลงจะมีเสียงลักษณะเฉพาะ (เสียงวู้ป) เกิดขึ้น
ระยะฟื้นตัว หรือ ระยะพักฟื้น (Convalescent phase) : รับประทานอาหารได้มากขึ้น น้ำหนักตัวขึ้น และอาการไอจะค่อยๆลดลง
ภาวะแทรกซ้อนของโรคไอกรน
ปอดอักเสบ/ปอดบวม (Pneumonia
ปอดแฟบ (Atelectasis)
หลอดลมอักเสบ (Bronchitis), หูชั้นกลางอักเสบ (Otitis media), มีจุดเลือดออก(Petechiae) ตามผิวหนังบนใบหน้าและในสมอง
การวินิจฉัยโรคไอกรน
การเพาะเชื้อ
การตรวจหาแอนติบอดีหรือสารภูมิต้านทาน
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
วิธีรักษาโรคไอกรน
ควรรีบไปพบแพทย์เมื่อมีอาการชัดเจนว่าเป็นโรคไอกรน
ควรให้เด็กรับประทานอาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ให้อยู่ที่ที่มีอากาศปลอดโปร่ง ดื่มน้ำอุ่นมากๆ
โรคนี้สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน (DTP vaccine) รวม 5 เข็ม
บาดทะยัก
การติดต่อ
ทางบาดแผล ลักษณะลึกเป็นแผลปิด ทำให้ออกซิเจนเข้าไปไม่ถึง
พยาธิสภาพ
เทตะโนสปาสมิน (tatanospasmin) โดยจับกับ neural ganggliosides ที่myoneural junction ของกล้ามเนื้อเรียบ และ neuronal membrane ในไขสันหลัง ทำให้เกิดความผิดปกติของ polysynaptic reflexes
เทตะโนไลซิน (tetanolysin) ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกในสัตว์แต่ไม่ก่อโรคในคน
การรักษา
ให้ tetanus antitoxin (TAT) ทางหลอดเลือดด า และให้ toxiod
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น peniccilin, methacillin, gentamycin
ควบคุมอาการชัก ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
การป้องกัน
ล้างแผลให้สะอาดเมื่อมีบาดแผล ฟอกสบู่เช็ดด้วยแอลกฮอล์
วัคซีนป้องกันบาดทะยักและtetanus antitoxinหรือtoxiod
การป้องกันบาดทะยักในทารกแรกเกิด โดยให้วัคซีนป้องกันบาดทะยักแก่หญิงมีครรภ์โดยห่างกัน 1 เดือน เข็มสุดท้ายควรให้ก่อนคลอดอย่างน้อย 1 เดือน ควรได้ครบ 2 ครั้ง
อาการและอาการแสดง
ระยะที่บาดแผลมีเชื้อบาดทะยัก (wound bacterial stage): สามารถรักษาให้หายขาดได้โดย ทำความสะอาดบาดแผลและทำลายเชื้อโรค
ระยะที่เชื้อบาดทะยักสร้างท็อกซินและเข้าสู่กระแสเลือด(tetanotoxemic stage)
ระยะสุดท้ายของบาดทะยัก (neurologic stage) :เด็กจะชักเกร็ง กระตุก อาจมีอาการหายใจลำบาก เขียว ขาดออกซิเจน เกิดภาวะหายใจล้มเหลวซึ่งเป็นสาเหตุที่เด็กเสียชีวิต
การพยาบาล
ให้ยากันชัก การให้ยากันชักมากกว่า 1 ชนิด
ทำความสะอาดบาดแผล หลังให้แอนตี้ท็อกซินนาน 1-2 ชม. ฟอก แผลด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
การเช็ดตัวลดไข้ คือ การคบเปียกชุบน้ำอุ่นห่อตัวนาน 5 – 10 นาที ร่วมกับให้ยาลดไข้
วัณโรค
สาเหตุ : เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis เป็น Acid Fast Bacillus ย้อมติดสีแดง
ระยะฟักตัว 2-10 สัปดาห์
อาการ ระยะแรกไม่แสดงอาการ
การวินิจฉัยโรค
ประวัติการสัมผัสโรค
การทดสอบทูเบอร์คูลิน ใช้วิธีทดสอบMantoux ด้วย 5 tuberculin unit (TU)ของ PPD มาตรฐาน ถ้าให้ผลบวกมีขนาดรอยนูน 10 มิลลิเมตร
ภาพถ่ายรังสีปอด
การย้อมสีทนกรด
การวินิจฉัยชิ้นเนื้อ จากต่อมน ้าเหลือง เยื่อหุ้มปอด
การตรวจ CT MRI
การแปลผล TT (PPD test )
0 -4 mm. ≈ NEGATIVE (uninfected mycobacterium orTB infection ?, TB disease ?)
5 – 9 mm. ≈ DOUBTFUL. (BCG, nontuberculous mycobacterium or TB infection ?, TB disease ? )
10 mm. ≈ POSITIVE (BCG, TB infection, TB disease
การรักษา
Combine drug อย่างน้อย 3 อย่าง (pyrazinamide,streptomycin,rifampin,isoniacid, ethabutol) กินยาต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี TT+ve ให้ INH นาน 2-4 เดือน
เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปีวัณโรค
แยกผู้ป่วย 1-2 เดือนจนเสมหะไม่พบเชื้อ
วัคซีนBCG
โรคติดเชื้ออื่นๆ
Hand Foot Mouth Disease
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อกลุ่ม enterovirusซึ่งอยู่สายพันธุ์ ของ T6N picornavirus เชื่อที่พบบ่อยสุดคือ coxsackie A16
การติดต่อ
ทาง fecal-oral
Respiratory route
ระยะฟักตัว : 2-6 วัน
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากการมีไข้ต่ำๆ เจ็บคอ มีผื่นขึ้น
ผื่นเริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ เจ็บ ต่อมาเป็นตุ่มน้ำขนาด 3-7 mm.
อาการเจ็บปาก ตรวจร่างกายจะพบมีรอยโรคในบริเวณปาก มือ และเท้าตามมา
อาการแสดงตามระบบ
ระบบทางเดินหายใจ อาจมีอาการเหมือนไข้หวัด ไอ มีน้ำมูกใส เจ็บคอ
ทางผิวหนัง
ทางระบบประสาท เช่น สมอง เยื่อหุ้มสมอง หรือเนื้อสมองอักเสบ
ทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาการท้องเสีย
ทางตา มักพบเยื่อบุตาอักเสบ (chemosis and conjuntivitis)
รอยโรคที่ปาก
มักพบลักษณะเป็นแผลตื้นๆ สีเหลืองถึงเทาของแดง ซึ่งอาจจะมารวมกันเป็นรอยโรคใหญ่ได้
รอยโรคระยะเริ่มต้น ลักษณะเป็นรอยสีแดง อาจนูนเล็กน้อย
รอยโรคที่ผิวหนัง
พบที่มือบ่อยกว่าเท้า ลักษณะเป็นรอยแดงๆ
บางรอยโรคมีลักษณะเป็นตุ่มน้ำใสขอบแดง มีกระจายขนานไปกับแนวของผิวหนัง อาจเจ็บหรือไม่ก็ได้
การวินิจฉัย
ตรวจรอยโรคที่ผิวหนังโดยวิธีทางพยาธิวิทยาจะพบเม็ดเลือดขาวชนิดneutrophil และlymphocyte เพิ่มขึ้น
ตรวจร่องรอยการติดเชื้อจากน้ำเหลือง
การส่ง throat swab
การเก็บอุจจาระ
การส่งน ้าไขสันหลัง (CSF)
ตรวจร่างกายพบรอยโรคจำเพาะที่บริเวณมือ เท้า ปาก ร่วมกับมีไข้
การติดต่อ
การสัมผัสโดยตรงกับสารคัดหลั่งจากจมูก , ลำคอ และน้ำจากในตุ่มใส
อุจจาระของผู้ป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสอยู่
เชื้อเอนเทอโรไวรัสสามารถทนสภาวะกรดในทางเดินอาหารมนุษย์ได้และมีชีวิตอยู่ในอุณหภูมิห้องได้ 2-3 วัน
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย
ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว และเจ็บปาก
ผู้ป่วยบางรายอาจพบภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้
การป้องกัน
แยกเด็กป่วยไม่ให้ร่วมกิจกรรมกับเด็กอื่น
ทำความสะอาดพื้น ห้องน้ำ สุขา เครื่องใช้ ของเล่น สนามเด็กเล่น
การรักษา
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการ
ในกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนให้รักษาตามอาการเป็นส่วนใหญ่
ไข้เลือดออก
อาการทางคลินิก
ไข้สูงลอย 2-7 วัน
อาการเลือดออก
ตับโต กดเจ็บ
ภาวะเลือดไหลเวียนล้มเหลว/ภาวะช็อก
การดำเนินโรค
ระยะไข้สูง (febrile stage) ส่วนใหญ่ไข้สูงลอย T> 38.5๐C 2-7 วัน
ระยะวิกฤต/ช็อก (critical stage) ไข้ลดลงวันที่ 4-7 ของโรค
มีอาการของพลาสมาซึ่งนำ ไปสู่hypovolemic shock
ระดับperipheral resistance เพิ่มขึ้น
ระยะฟื้นตัว(convalescent stage) การดูดกลับของพลาสมาเข้าสู่หลอด เลือด กลับสู่สภาพปกติภายใน 2-3 วัน
ความรุนแรงของไข้เลือดออกเดงกี่
Grade III : pt.shock มีชีพจรเบาเร็ว pulse pressure แคบ
Grade IV : ช็อครุนแรง วัด BP / pulse ไม่ได้
Grade II : มีเลือดออก เช่น มีจุดเลือดออกตามตัว
Grade I : positive tourniquet test / easy bruising
เกณฑ์การวินิจฉัย DF :WHO
Probable case : มีอาการไข้อย่างกะทันหันร่วมกับอาการอย่างน้อย 2 ข้อ
ปวดศีรษะ
ปวดกระบอกตา
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ปวดข้อ/ปวดกระดูก
เลือดออก คือ positive tourniquet test, petechiae , เลือดกำเดา
ตรวจ CBC : WBC ต่ำ(<5,000) และมี HI antigen > 1,280
เกณฑ์การวินิจฉัย DHF
ไข้เฉียบพลันและสูงลอย 2-7 วัน
อาการเลือดออก อย่างน้อย positive tourniquet test ร่วมกับอาการเลือดออกอื่นๆ
plt< 100,000 or platelet smear < 3/oil field
Hct. เพิ่มขึ้นเท่ากับหรือมากกว่า 20% เทียบกับ Hct.เดิม
การรักษา
ระยะไข้สูง
ให้ยาลดไข้เมื่อมีไข้สูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียส ห้ามให้แอสไพริน
ระยะช็อค
โดยให้Crystalloid solution
Colloidal solution
ระยะพักฟื้น
จำเป็นต้องหยุดหรือ ลดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดา และหลีกเลี่ยงการทำหัตถการที่รุนแรง การจำหน่ายเด็กกลับบ้าน ควรมีไข้ลงนานกว่า 24 ชั่วโมง โดยไม่ได้ยาลดไข้
การพยาบาล
การเช็ดตัวลดไข้
การให้ORS น้อยๆบ่อยๆ
การบันทึกสัญญาณชีพทุก 15-30 นาที
การเจาะ Hct ทุก 4-8 ชั่วโมง
การดูผลเกร็ดเลือด ถ้า Hct สูง Plat. ต่ำเป็นสัญญาณอันตราย
เอดส์
อาการและอาการแสดง
Major sign
Weight loss or failure to thrive
Chronic diarrhea > 1 mo
Chronic fever > 1 mo
Persistent of severe lower respiratory tract infection
Minor sign
Confirmed maternal infection
Generalized dermatitis
Persistent cough
Repeated common infections : otitismedia
Oral thrush
Generalized lymphadenopathy
Window period
ระยะเริ่มติดเชื้อ
หลังการติดเชื้อ 2-3 wk ร่างกายยังไม่มีการตอบสนองของภูมิต้านทานต่อเชื้อ
ระยะติดเชื้อเฉียบพลัน
เชื้อทำลาย T-helper lymphocyte อย่างต่อเนื่อง ใน 2-4 wks
อาการคล้ายหวัด เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ต่อมน้ำเหลืองโตมีผื่นตามตัว แขนขา
ระยะโรคเอดส์
T-lymphocyte ถูกทำลายและจำนวนลดลงมาก ระบบภูมิคุ้มกันโรคของร่างกายเกิดความบกพร่อง เกิดการติดเชื้อฉวยโอกาส เช่น TB ไวรัส เชื้อรา
WHO,2005
Stage II : ม้ามโต ผื่นคัน ต่อมน้ำลาย parotid โต มีอาการของงูสวัด ติดเชื้อระบบหายใจส่วนบนบ่อยๆ
Stage III : อุจารระร่วงเรื้อรังนานกว่า 14 วัน ขาดอาหาร มีไข้เรื้อรัง> 1 เดือน มีฝ้าขาวในปาก ลิ้นและ เหงือก ปอดอักเสบ วัณโรคปอด
Stage I : Asymptomatic ต่อมน้ำเหลืองทั่วไปโต
Stage IV : ขาดอาหารุนแรง ติดเชื้อรุนแรงและกลับซ้ำ มะเร็งผิวหนัง ติดเชื้อราในทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ meningitis ติดเชื้ออื่นๆ
การวินิจฉัยทาง Lab
HIV antibody test ตรวจพบหลังติดเชื้อ 2 wk-6 month: ELISA ,HIV CHEK, Recombigen HIV -1 Latex agglutination
HIV antigen test
Early detection of infection: IgM/IgA antibody , PCR (polymerase chain reaction technique , IVAP (In Vitro Antibody Production Assays)
Viral culture
การป้องกัน
ให้ยาต้านเชื้อไวรัส คือ AZT
เลือกท าการผ่าตัดออกทางหน้าท้องก่อนเจ็บครรภ์คลอดและน ้าเดิน
ลดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
JE ควรฉีดกระตุ้น 1 ครั ้ง หลังจากเข็มที่ 3 อย่างน้อย 4-5 ปี
วัคซีนสุกใสให้ได้ตั้งแต่อายุ 1 ปี (CD4มากกว่าร้อยละ 15)ควรให้ 2 ครั้งห่างกัน 3 เดือน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะขาดสารน ้าและสารอาหาร
พัฒนาการล่าช้าและหยุดชะงัก
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน
กลัวการสูญเสียชีวิต
ไข้ซิก้า
สาเหตุ:มียุงลายบ้านเป็นพาหะสำคัญ
อาการ ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ผื่น ตาแดง ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ แต่อาการเหล่านี้สามารถทุเลาลง
ภายในเวลา 2-7 วัน หากได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที ไม่รุนแรงเท่าโรคไข้เลือดออก
การติดเชื้อ
จากแม่สู่ลูกขณะตั้งครรภ์หรือคลอด
การแพร่เชื้อผ่านทางเพศสัมพันธ์
การแพร่เชื้อผ่านการบริจาคเลือด
การรักษาโรคติดเชื้อไวรัสซิกา ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนหรือยาในการรักษาโรคนี้โดยเฉพาะแพทย์จะทำการรักษาตามอาการของผู้ป่วยที่พบเป็นหลัก
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
ที่พบบ่อย
โรคแผลพุพอง (Impetigo)
Cellulitis เป็นการอักเสบของผิวหนังชั้นลึก
Erysipelas พบบ่อยในเด็กทารกและเด็กเล็ก
การรักษา
ท าความสะอาดด้วยสบู่หรือน ้ายาฆ่าเชื้อโรค วันละ 2-3 ครั้ง
Hygine care
หลีกเลี่ยง skin trauma
ในรายเป็นฝีแล้วเป็น fluctuate ต้องผ่าหนองออก
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
หูด
สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Human papilloma virus (HPV)
ลักษณะ
หูดธรรมดา
หูดชนิดราบ
หูดที่ฝ่าเท้า
หูดชนิดติ่ง
หูดหงอนไก่
การรักษา
ใช้สารเคมี การรักษาด้วยความเย็น การผ่าตัด การใช้แสงเลเซอร์ การรักษาด้วยระบบอิมมูน
หูดข้าวสุก
พบบ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
สาเหตุ mollusum contagiosum virus
การรักษา การสะกิดออก ใช้สารละลายขุย ให้ยา cimethidine ให้ยาทา
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคกลาก (dermatpophytosis)
กลากที่ศีรษะ เกิดจากเชื้อ trichophyton และmicrosporum
กลากที่ลำตัว เกิดจากเชื้อ trichophyton และ microsporum
กลากที่ใบหน้า
กลากที่ขาหนีบ
โรคเกลื้อน (tinea vesicolor)
สาเหตุเชื้อ dimorphic yeast malassezia furfur
อาการ ผื่นราบขนาดเล็ก สีต่างๆ มีขุยบางๆ มักพบบริเวณคอ หน้าอก หลังและต้นแขน
การรักษา ทำความสะอาดผิวหนัง ยาทาต้านเชื้อรา รับประทานยา
Candidiasis
สาเหตุ เชื้อ candida albicans
ตำแหน่ง ช่องปาก ผิวหนัง
โรคผิวหนังจากเชื้อปรสิต
โรคหิด
สาเหตุ เกิดจากตัวหิดscabiei var hominis
ลักษณะ ผื่นนูนแดงขนาดเล็ก หรือตุ่มน้ำใสขนาดเล็ก
การวินิจฉัยโรค ตรวจ KOH
การรักษา ซักเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน ยาแก้คัน ใช้ยทา ให้ยาปฏิชีวะในรายติเชื้อแบคทีเรีย
เหาศีรษะ (head louse)
สาเหตุPediculus humanus var capitis
ลักษณะ คันศีรษะ เกาจนถลอก
การวินิจฉัยโรค ตรวจไข่เหา
การรักษา การตัดผมสั้น การทำความสะอาดเครื่องนอน การสระผมด้วยแชมพูยา ใช้เม็ดน้อยหน่าตำหมักผม การหวีเอาไข่เหาออก การให้ยาปฏิชีวนะ
โรคผิวหนังอักเสบ
แบ่งเป็น
Acute stage ผิวแดง บวมมีตุ่มน้ำ น้ำเหลืองไหล สะเก็ด น้ำเหลืองและคัน
Subacute stage ผื่นเริ่มแห้งมีสะเก็ดเล็กน้อยและคันมากขึ้น
Chronic stage ตุ่มแดง ขุย รอยเกา ผิวหนังแข็งหนาดำ และคันเพิ่มมากขึ้น
สาเหตุ มักพบในเด็กอายุ 2-3เดือน และ2-3 ปี
การติดเชื้อ
Atopic dermatitis โรคผิวหนังอักเสบเรื้อรัง พบบ่อยสุดในเด็ก
Seborrheic dermatitis เป็นโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังที่พบบ่อยในเด็กทารกและวัยรุ่น
Diaper dermatitisเป็นโรคผิวหนังอักเสบที่เกิดบริเวณผิวหนังที่นุ่งผ้าอ้อม
การรักษา
Acute stage ใช้ Wet dressing ด้วยน้ำเกลือ น้ำละลายด่างทับทิม
Subacute stage ทา corticosteroid cream
Chronic stage ใช้ keratolytic agent ร่วมกับ corticosteroid cream หรือointment ทาเพื่อให้ผิวหนังบางลง
ทาวาสลินหรือ zinc oxide cream เพื่อไม่ให้ผิวหนังสัมผัสกับปัสสาวะ อุจจาระ
Atopic dermatitis
อาการและอาการแสดง
ระยะทารก ปื้นแดงที่แก้ม ตุ่มแข็ง ตุ่มน้ำหนองตกสะเก็ด
ระยะเด็ก มักเป็นผื่นในบริเวณข้อพับและหลังเท้า ตุ่มน้ำแตกตกสะเก็ด ผิวหนังหนาเป็นกลุ่มสีเข้ม
ระยะผู้ใหญ่ ผื่นแห้งเป็นแผ่นหนา เกิดที่หลังเท้า ข้อพับแขน ใบหน้าบวมเรื้อรัง
การรักษา
ระยะเฉียบพลัน ผื่นแดง บวม ตุ่มน้ำและมีน้ำเหลืองไหล ทำความสะอาดด้วยน้ำยา Burrow’s solution 1:40 หรือน้ำละลายด่าง ทับทิม 1:4000 หรือ 0.9%NSS วันละ 3-4 ครั้ง เมื่อแห้งดีแล้วหยุดเช็ด หลังจากนั้นทาด้วยครีมสเตียรอยด์ชนิดอ่อนหรือปานกลาง
ถ้าติดเชื้อให้รับประทานยาปฏิชีวนะนาน 7-10 วัน
ภาวะแทรกซ้อน : การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส หรือเชื้อราร่วมด้วย
Seborrheic dermatitis
การรักษา ใช้สำลีชุบน้ำมันมะกอก หรือวาสลิน เช็ดออกเบาๆ แล้วฟอกผิวทำความสะอาดให้ทั่ว ล้างออกด้วยน้ำสะอาด
ถ้าหนังศีรษะและผิวหนังมีผื่นแดง ให้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดหา ใช้ 1%hydrocortisone, 1% prednisolone cream
ภาวะแทรกซ้อน น้ำมันเยิ้ม ทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราได้ โดยเฉพาะในบริเวณที่อับชื้นและเปื่อย เช่น รักแร้ รูหู สะดือ
Diaper dermatitis
ผื่นผ้าอ้อม
เป็นการอักเสบของผิวหนังบริเวณที่ห่อผ้าอ้อม มักพบในวัยทารก อายุ 9-12 เดือน
สาเหตุเกิดจากความเปียกชื้น ผิวหนังสัมผัสกับอุจจาระ ปัสสาวะเป็นเวลานาน โดยไม่ทำความสะอาด
อาการ ผื่นแดง ตุ่มแดง ตุ่มน ้าใส บวม เป็นขุย บริเวณหน้าท้องด้านล่าง หัวเหน่า หน้าขา ก้น และบริเวณที่สัมผัสกับผ้าอ้อม
การรักษา ทาด้วยครีมสเตียรอยด์ชนิดอ่อนหรือปานกลาง ทานาน 3-4 วัน แผลติ้น ท าแผลเปียกด้วยBurrow’s solution 1:40 เมื่อแผลแห้งทาด้วย zinc oxide paste
Roseola Infantum
สาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า Human herpesvirus type 6 (HHV-6) และ Human herpesvirus type 7 (HHV-7)
ระยะฟักตัวของโรค : ตั้งแต่ได้รับเชื้อจนแสดงอาการจะใช้เวลาประมาณ 5-15 วัน
ระยะติดต่อ : ตั้งแต่ 2 วันก่อนมีไข้ จนกระทั่งถึง 2 วันหลังไข้ลด
การติดต่อ : สามารถติดต่อโดยการหายใจสูดเอาฝอยละอองเสมหะของผู้ป่วยที่ไอหรือจามรด
อาการของส่าไข้ผู้ป่วยจะมีไข้สูงประมาณ 39.5-40.5 องศาเซลเซียส (ไข้สูงเฉลี่ย 39.7 องศาเซลเซียส หรือ 103-104 องศาฟาเรนไฮต์) เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน อาจมีลักษณะตัวร้อน ตลอดเวลา
ภาวะแทรกซ้อนของส่าไข้ อาจมีสมองอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ตับอักเสบ หรือภาวะเกล็ดเลือดต่ำแทรกซ้อน
การพยาบาล
อาจเกิดการชักจากไข้สูง
ได้รับสารน้ำสารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจากเบื่ออาหาร