Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 2การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
โรคหัด
(MEASLES/RUBEOLA)
สาเหตุเชื้ออไวรัส (paramyxovirus)
ระยะเวลาติดต่อ : ประมาณ 8-12 วัน คือ 4วันก่อนผื่นขึ้น
จนถึง 4วันหลังผื่นขึ้น
การระบาดของโรค : ตลอดทั้งปี วัยเด็กมักเป็นโรคหัดอายุ
1-7 ปี อายุน้อยกว่า 6 เดือนมักไม่พบว่าเป็นโรคหัด
ระยะฟักตัว ประมาณ 10วันหลังจากได้รับเชื้อ
อาการและอาการแสดง
วันที่ 2-3 ตรวจพบ Koplick’s spot ลักษณะเม็ดขาวเล็กๆขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบนเยื่อบุกระพุ้งแก้มที่แดงจัด
โรคแทรกซ้อน
สมองอักเสบ (Encepalitis) ไข้ อาเจียน ซึม ชัก และระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
เป็นโรคหัดขณะตั้งครรภ์ อาจท าให้เด็กตายคลอดหรือคลอดก่อนกำหนดได
การป้องกัน
วัคซีนที่ทำจากเชื้อมีชีวิตฉีดเข้าใต้ผิวหนังครั้งเดียว
โรคหัดเยอรมัน
(Rubella)
พยาธิสภาพ
ระยะฟักตัว 14-21 วัน เฉลี่ย 16-18 วัน
ระยะติดต่อ คือ 2-3 วันก่อนมีผื่นขึ้นจนไปถึง 7 วันหลัง
ผื่นขึ้น
ไข้ออกผื่น ไม่รุนแรงในเด็ก
การพยาบาลผู้ป่ วยโรคหัด
การแยกเด็กแบบ Respiratory Isolation ตั้งแต่มีอาการถึง 5-7
วัน หลังผื่นขึ้น
Tepid sponge
การดูแลทั่วไป
โรคสุกใส
(Chickenpox/Vericella)
อาการน้ำมีไข้ต่างๆพร้อมกับผื่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร 1-
2วัน ปวดท้องเล็กน้อย
โรคแทรกซ้อน
-การติดเชื ้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง
-ปอดอักเสบ ข้ออักเสบ กระดูกอักเสบ
-Reye’s syndromeเป็นกลุ่มอาการที่มีผลกระทบต่อทุกอวัยวะในร่างกาย
การพยาบาล
-แยกผู้ป่วยไว้จนกว่าแผลตกสะเก็ดหมด
-ตัดเล็บมือให้สั้นใส่ถุงมือในเด็กเล็ก
-สังเกตภาวะแทรกซ้อน
-วัคซีนป้องกันโรคสุกใส
การป้ องกัน
ระยะแพร่เชือ เริ่มตั ้งแต่ 24 ชั่วโมงก่อนที่ผื่นขึ้นจนตุ่ม
แห้งหมดแล้ว ควรอยู่ในห้องแยก strict isolation ควรหยุดเรียน
โรคคอตีบ
(Diphtheria)
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย Corynebactrium diphtheriae (C.diphtheriae) รูปทรงแท่ง ย้อมติด
สีแกรมบวก
ระบาดวิทยา
พบในคนเท่านั้น ในจมูกหรือลำคอ โดยไม่มีอาการ ติดต่อกันทางไอ จามรดกัน พูดคุยระยะใกล้ชิด เชื้อเข้าทางปากหรือการหายใจ
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่างๆ อาการคล้ายหวัด ไอเสียงก้อง เจ็บคอรุนแรง เบื่ออาหาร
การวิฉัยโรค
การเพาะเชื้อ C.diphtheriae
โดยใช้throat swab
การป้องกัน
้ใกล้ชิดผู้ป่วย เนื่องจากโรคคอตีบติดต่อกันได้ง่ายในเด็กทั่วไป โดยให้วัคซีนป้องกันคอตีบ 4 ครั้ง เมื่ออายุ 2,4,6 และ 18 เดือน
ไอกรน
(Pertussis, Whooping cough)
สาเหตุ
-เกิดจาก “เชื้อไอกรน” อยู่ในน ้ำมูก น้ำลาย และเสมหะของผู้ป่วย
พยาธิสภาพ Bordetella pertussis
อาการของโรคไอกรน
ระยะไอรุนแรง หรือ ระยะอาการกำเริบ (Paroxysmal phase
ระยะฟื้นตัว หรือ ระยะพักฟื้น (Convalescent phase)
ระยะเป็นหวัด หรือ ระยะเยื่อเมือกทางเดินหายใจอักเสบ (Catarrhal phase)
ภาวะแทรกซ้อนของโรคไอกรน
-ปอดอักเสบ/ปอดบวม (Pneumonia)
-ปอดแฟบ (Atelectasis)
-หลอดลมอักเสบ (Bronchitis)
-หูชั้นกลางอักเสบ (Otitis media)
-มีจุดเลือดออก
(Petechiae)
บาดทะยัก
(Tetanus)
สาเหต
การติดเชื้อบาดทะยัก Clostridium โดยเฉพาะในทารกแรกเกิดจะมีอันตรายตายสูงมาก
เรียกว่า “บาดทะยักในทารกแรกเกิด”
พยาธิสภาพ
เทตะโนไลซิน (tetanolysin) ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกในสัตว์แต่ไม่ก่อโรคในคน
เทตะโนสปาสมิน (tatanospasmin) มีผลต่อระบบประสาท (neurotoxin) โดยจับกับ
neural ganggliosides ท่ีmyoneural junction ของกล้ามเนื้อเรียบ
อาการและอาการแสดง
ระยะที่เชื้อบาดทะยักสร้างท็อกและเข้าสู่กระเเสเลือด(tetanotoxemic stage)
ระยะสุดท้ายของบาดทะยัก(neurologic stage)
ระยะที่บาดแผลมีเชื้อบาดทะยัก(wound bacterial stage)
การรักษา
ให้ tetanus antitoxin (TAT) ทางหลอดเลือดด า และให้ toxiod หรือ TIG
(tetanus immnoglobulin)
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น peniccilin, methacillin, gentamycin
ควบคุมอาการชัก ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ เช่น phenobarbital
การป้ องกัน
ล้างแผลให้สะอาดเมื่อมีบาดแผล ฟอกสบู่เช็ดด้วยแอลกฮอล์
ให้วัคซีนป้ องกันบาดทะยักและtetanus antitoxinหรือtoxiod
โรคคางทูม
(Mumps)
อาการ
ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ขากรรไกรบวมแดง
ปวด ร้าวไปที่หูขณะกลืน เคี ้ยว อ้าปาก
โรคแทรกซ้อน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ * พบบ่อย
หูชั ้นในอักเสบ ไตอักเสบ
ส่วนน้อยพบ orchitis(ลูกอัณฑะอักเสบ : ไข้สูง อัณฑะบวม ปวด อาจเป็ นหมันได้)
การรักษา
ให้นอนพัก ดื่มน ้ามากๆ เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้
ปวด บวม : ประคบ บ้วนปากด้วยน ้าเกลือบ่อยๆ
อัณฑะอักเสบ : ให้ prednisolone 1 mg/kg/day
วัณโรค
(Tuberculosis)
สาเหตุ
เกิดจากเชื ้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis เป็ น Acid
Fast Bacillus ย้อมติดสีแดงเชื ้อเข้าทางระบบหายใจ ฝังตัวที่ปอด เชื ้อเข้าทางระบบหายใจ ฝังตัวที่ปอด
PPD test
ยังมีประโยชน์ในการวินิจฉัย LTBI, TB disease ใน
เด็ก (ผู้ใหญ่มีประโยชน์น้อยมาก)มีทั้ง False positive และ False negative
การแปลผล TT (PPD test )
0 -4 mm. ≈ NEGATIVE (uninfected mycobacterium or
TB infection ?, TB disease ?)
5 – 9 mm. ≈ DOUBTFUL. (BCG, nontuberculous
mycobacterium or TB infection ?, TB disease ? )
10 mm. ≈ POSITIVE (BCG, TB infection, TB disease)
ไข้เลือดออก
Dengue hemorrhagic fever
อาการทางคลินิก
ไข้สูงลอย 2-7 วัน
-อาการเลือดออกตับโต กดเจ็บ
-ภาวะเลือดไหลเวียนล้มเหลว/ภาวะช็อก
ระยะไข้สูง (febrile stage)
ระยะวิกฤต/ช็อก (critical stage)
ระยะฟื้ นตัว(convalescent stage)
การพยาบาล
-การเช็ดตัวลดไข้
การให้ORS น้อยๆบ่อยๆ
-การท าความสะอาดร่างกาย
-การบันทึกสัญญาณชีพทุก 15-30 นาท
โรคติดเชื้อ
HIV/AIDS ในเด็ก
โรคเอดส์ คือ โรคที่เกิดภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเสื่อมไป เพราะถูก ท้าลายโดยเชื้อไวรัสที่เรียกว่า HIV
อาการ เอดส์ในเด็กมีอาการของ Major sign อย่างน้อย 2 ข้อ และ Minor sign อย่างน้อย 2 ข้อ
Minor sign
-ต่อมน้้าเหลืองทั่วไปโต-แม่เป็นเอดส์
Major sign
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
การป้องกัน รักษา
เลือกท้าการผ่าตัดอกทางหน้าทอ้งก่อนเจ็บครรภ์คลอดและน้้าเดิน
ให้ยาต้านไวรัส คือ AZT โดยให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานทุก 12 ชม. เมื่ออายุครรภ์ ครบ 32-34 สัปดาห์ และเพิ่มเป็นทุก 3 ชม. เมื่อเจ็บครรภ์จนกระทั่งคลอด
การดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี โรคมือเท้าปาก
ให้ BCG และ IPV แทน OPV
ไม่ให้ทั้งสองชนิด (ACIP)
งดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
การติดต่อ
-จากแม่สู่ลูก การกินมมารดา
-การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
-การมีเพศสัมพันธ์-ประมาณ 2-3 เดือน แสดงอาการภายใน 5 ปี
โรคมือ เท้า และปากเปื่ อย
Hand Foot Mouth Disease
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส Enterovirus
การติดต่อ
ทางการหายใจ ทาง fecal-oral
การรักษา
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการ หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน เป็น โรคที่สามารถหายเองได้เอง โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน ลดอาการ เจ็บปวด จากแผลในปาก โดยป้ายยาชาบริเวณที่เป็นแผลก่อนรับประทาน อาหาร
รอยโรคที่ปาก
ในผู้ป่วยทั้งหมด มีรอยโรคจ้านวน 5-10 แห่ง พบได้ทุกบริเวณในปาก พบบ่อย คือ เพดานปาก ลิ้น และเยื่อบุกระพุ้งแก้ม
รอยโรคระยะเริ่มต้น ลักษณะเป็นรอยแดง อาจนูนเล็กน้อย ขนาด 2-8 mm. เปลี่ยนเป็นตุ่มน้้าสีเทาขนาดเล็กขอบแดง
ช่วงที่รอยโรคเป็นตุ่มน้้าจะสั้น จึงมักตรวจไม่พบในระยะนี้
อาการ
ผื่นเริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ เจ็บ ต่อมาเป็นตุ่มขนาด 3-7 mm. ไม่เจ็บแห้งใน 1 สัปดาห์
มีแผลหรือผื่นในช่องปาก: ลิ้น เยื่อบุช่องปาก เหงือก เพดาน ริมฝีปาก เป็นตุ่ม ใสขนาด 1-3 mm. แล้วแตกเป็นแผล
เริ่มจากการมีไข้ต่ำๆ เจ็บคอ มีผื่น
รอยโรคที่ผิวหนัง
อาจเกิดขึ้นพร้อมหรือหลงัรอยโรคทปี่าก จ้านวนตั้งแต่ 2-3 แห่งไปจนถึง 100 แห่ง
บางรอยโรคมีลักษณะเป็นตุ่มน้้าใสขอบแดง มีกระจายขนานไปกับแนวของผิวหนัง อาจเจ็บหรือไม่ก็ได้
พบที่มือบ่อยกว่าเท้า ลักษณะเป็นรอยแดงๆ อาจนูนเล็กน้อยขนาด 2-10 mm. ตรงกลางสีเทา
การติดต่อ
การสัมผัสโดยตรงตรงกับสารคัดหลั่งจากจมูก, ล้าคอ และน้้าจากในตุ่มใส
อุจจาระของผู้ป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสอยู่ ช่วงที่แพร่กระจายมากที่สุด คือ สัปดาห์ แรกที่ผู้ป่วยมีอาการ จนกว่ารอยโรคจะหายไป
ไม่สามารถติดต่อจากคนสู่สัตว์ หรือจากสัตว์สู่คน
เชื้อแอนเทอโรไวรัสสามารถทนสภาวะกรดในทางเดินอาหารมนุษย์ได้และมี ชีวิตอยู่ในอุณหภูมิได้ 2-3 วัน
การป้องกัน
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคออกจากกลุ่มเพื่อนในโรงเรียน สถานเลี้ยงเด็ก โดยเน้น contact isolation เป็นหลัก
โรคไข้ซิก้า
(Zika fever)
อาการ
ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ผื่น ตาแดง ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ
สาเหตุ
เชื้อไวรัสซิก้า (Zila Virus-ZIKV) มียุงลายบ้านเป็นพาหะสำคัญน าพาเชื้อไวรัส มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกdu
การรักษา
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
รักษาตามอาการเป็นหลัก
ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนหรือยาในการรักษาโรคนี้โดยเฉพาะ
ดื่มน้ำให้เพียงพอ ป้องกันการขาดน้ำ
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
โรคแผลพุพอง
อาการ
มักพบเกิดเป็นรอยโรคที่ผิวหนังบริเวณใบหน้าหรือบริเวณแขน-ขา ที่ มีแผลอยู่ก่อนแล้ว โดยเริ่มด้วยมีตุ่มน้้าหรือตุ่มหนองเล็กๆที่มีผนังบางๆซึ่งจะ แตกออกง่ายจึงท้าให้บริเวณแผลแฉะไปด้วยน้้าเหลืองและน้้าหนอง
สาเหตุ
เป็นโรคติดเชื้อที่ผิวหนังในบริเวณที่เป็นชั้น ตื้นๆของหนังก้าพร้า พบบ่อยในวัยเด็ก และมีการติดต่อง่าย มักพบบริเวณ ใบหน้า แขน ขา
การป้องกัน
ตัดเล็บให้สั้น ไม่แกะ เกา บีบ แผล
เมื่อมีแผลเกิดขึ้นควรรักษาความสะอาดแผลเสมอ
ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆและทุกครั้งที่สัมผัสแผล
รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วยโรคพุพอง ไม่ใช้เครื่องใช้ร่วมกัน
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
หูดข้าวสุก(mollusum contagiosum)
สาเหตุ
mollusum contagiosum virus
การรักษา
การสะกิดออก ใช้สารละลายขุย ให้ยา cimethidine ให้ยาทา
หูด (warts)
เกิดจากเชื้อไวรัสทำให้เซลล์ผิวหนังแบ่งตัวมากกว่าปกติ เกิดเป็นติ่งเนื้อหรือตู่มนูน
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ Human papilloma virus (HPV)
การรักษา
ใช้สารเคมี การรักษาด้วยความเย็น การผ่าตัด การใช้แสงเลเซอร์ การรักษาด้วยระบบอิมมูน
โรคผิวหนังจากเชื้อปรสิต
โรคหิด (scabies) พบ บ่อยในเด็ก
การรักษา
ครีมโครตาไมตอน (Crotamiton)
โลชั่นเบนซิลเบนโซเอต (Benzyl Benzoate
เหาศีรษะ (Head louse
คันศีรษะ เกาจนถลอก
การรักษา
การตัดผมสั้น ท้าความสะอาด เครื่องนอน สระผมด้วยแชมพูยา ใช้เม็ด น้อยหน่าต้าหมักผม หวีเอาไข่เหาออก การ ให้ยาปฏิชีวนะ
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคกลาก (dermatpophytosis)
โรคกลากที่ศีรษะ (tinea capitis)
โรคกลากที่ล้าตัว (tinea corporis)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โรค Candidiasis
ตำแหน่ง
ช่องปาก ผิวหนัง
สาเหตุ
เชื้อ candida albicans
เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อราในกลุ่ม genus candida พบบ่อยมาก ในเด็ก ซึ่งเป็นเชื้อประจำถิ่น
โรคเกลื้อน (tinea vesicolor)
อาการ
ผิวราบขนาดเล็ก สีต่างๆ มีขุยบางๆ มักพบบริเวณคอ หน้าอก หลัง และต้นแขน
สาเหตุ
เชื้อ dimorphic yeast malassezia furfur
การรักษา
ทำความสะอาดผิวหนัง ยาทาต้านเชื้อรา รับประทานยา
โรคผิวหนังอักเสบ
สาเหตุ
มักพบในเด็กอายุ 2-3 เดือน และ 2-3 ปี ภูมิแพ้ พันธุกรรม การติด เชื้อ
เป็นการอักเสบของผิวหนัง คัน อาจเกิดจาสาเหตุภายใน หรือภายนอกเป็นตัวกระตุ้น แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะกึ่งเฉียบพลัน
ระยะเรื้อรัง
ระยะเฉียบพลัน
การรักษา
ระยะเฉียบพลัน: ใช้ล้างแผลแบบเปียกด้วยน้้าเกลือและด่างทับทิม
ระยะเรื้อรัง: ใช้ keratolytic agent ร่วมกับ corticosteroid cream หรือ ointment ทำเพื่อให้ผิวหนังบางลง
ระยะกึ่งเฉียบพลัน: ทำ corticosteroid cream