Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ - Coggle…
บทที่ 7 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ
Nephrotic Syndrome
Hydrocephalus
สาเหตุของภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
ทางผ่านของน้ำในสมองแคบตั้งแต่กำเนิด ทำให้กีดขวางการไหลเวียนของน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
เส้นเลือดในสมองแตกหรือตีบตัน
ภาวะเลือดออกในสมอง เช่น เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง
มีเนื้องอกในสมอง
เกิดลิ่มเลือดอุดตันในสมอง
การรักษาภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
การผ่าตัดโดยใช้กล้องส่องในโพรงสมอง
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
อาการภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
ปวดคอ
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ บางรายอาจกลั้นอุจจาระไม่ได้ด้วย
มีปัญหาด้านการจำ การควบคุมสมาธิ และทักษะการคิด
คลื่นไส้ พะอืดพะอม โดยมีอาการรุนแรงขึ้นในตอนเช้า
ตื่นยาก ง่วงซึม อาจร้ายแรงถึงขั้นโคม่า หรือหมดสติขั้นรุนแรงและไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นใด ๆ ได้
สับสนมึนงง
มีปัญหาในการเดิน และการทรงตัว
ภาวะแทรกซ้อนของภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
ความบกพร่องทางสติปัญญา
ความบกพร่องทางร่างกาย
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด ได้แก่ปวดศีรษะ มีไข้สูง อาเจียน อาเจียน ง่วงซึม มีปัญหาในการมองเห็น คอแข็งเกร็ง
ความบกพร่องทางพัฒนาการด้านต่าง ๆ
การป้องกันภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุที่ศีรษะ
รักษาควบคุมอาการของโรคในกลุ่มเสี่ยง
ป้องกันโรคติดเชื้อ
สังเกตอาการที่เป็นสัญญาณของ Hydrocephalus
การวินิจฉัยภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
การวินิจฉัย Hydrocephalus ในเด็กและผู้ใหญ่
แพทย์มักตรวจวินิจฉัยด้วย ซีที สแกน (CT Scan)
คอมพิวเตอร์ หรือเอ็มอาร์ไอ สแกน (MRI Scan)
Hydrocephalus หรือภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ เป็นภาวะที่มีน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังในโพรงสมองมากเกินไป ทำให้โพรงสมองมีขนาดใหญ่ เกิดการกดทับและทำลายเนื้อสมอง
Urinary tract infection(UTI)
อาการ
รู้สึกปวดบริเวณท้องน้อย ปวดแสบ ขัด ขณะปัสสาวะโดยเฉพาะตอนปัสสาวะสุด
ปัสสาวะบ่อย แต่ครั้งละน้อยๆ มีอาการคล้ายถ่ายปัสสาวะไม่สุด
ปัสสาวะขุ่น บางครั้งมีกลิ่นผิดปกติ ในรายที่เป็นมากอาจปัสสาวะมีเลือดปน
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะประมาณ 3-5 วันขึ้นอยู่กับชนิดของยา ร่วมกับการรักษาตามอาการหากจำเป็น เช่น ยาแก้ปวดชนิดคลายการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ และพยายามดื่มน้ำให้มากๆ
การป้องกัน
ควบคุมโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยง เช่น เบาหวาน เพราะหากควบคุมไม่ได้ก็จะติดเชื้อซ้ำแล้วซ้ำอีก
รักษาสุขอนามัยบริเวณอวัยวะเพศด้วยการทำความสะอาดจากด้านหน้าไปด้านหลัง
ไม่สวนล้างช่องคลอดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ การทำความสะอาดด้วยสบู่ธรรมดาก็เพียงพอแล้ว
ผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน หากมีการติดเชื้อซ้ำๆ
ผู้ป่วยที่ต้องรับประทานยาปรับภูมิต้านทาน จำเป็นต้องปรับยาตามดุลยพินิจของแพทย์
ไม่กลั้นปัสสาวะ ถ้ารู้สึกปวดปัสสาวะต้องบังคับตัวเองให้เข้าห้องน้ำทันที
ผู้สูงอายุหลายรายเป็นโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบเนื่องจากนอนหลับนานๆ โดยไม่ลุกมาปัสสาวะ
หลังมีเพศสัมพันธ์ ควรปัสสาวะทิ้งและทำความสะอาดร่างกายทันที