Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gastroenteritis โรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ นายวิษณุ ชุ่มเย็น…
Gastroenteritis
โรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ
นายวิษณุ ชุ่มเย็น รหัสนิสิต 63019913
Prevention
การป้องกัน
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ทุกครั้งก่อน - หลังทำกิจกรรม/สัมผัสผู้ป่วยเด็ก
ล้างขวดนมเด็กให้สะอาด ถูกวิธี
ซํกผ้าบ่อยครั้ง เปลี่ยนผ้าอ้อมบ่อยๆ เพื่อป้องกันการระคายเคืองก้น หรือทา Zinc Oxide กันไว้
แยกเสื้อผ้า ผ้าเช็ดตัวออกจากผ้าอื่นๆ
ใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรคและแบคทีเรียทำความสะอาดห้องน้ำ และบริเวณที่มีการท้องเสียและอาเจียนเพื่อลดการกระจายเชื้อ หรือ Contact ไปสู่ผู้อื่น
Signs & Symptoms
Diarrhea
ท้องเสีย
Dehydration
Capillary refill
Poor skin turgor
Vomiting
อาเจียน
Abdominal Cramps
เกิดตะคริวในช่องท้อง
อาการเริ่มเกิดหลังสัมผัสเชื้อ 12-72 ชั่วโมง
ติดเชื้อจากไวรัส บางสายพันธุ์ จะสัมพันธ์กับการมีไข้ ปวดหัว และ ปวดกล้ามเนื้อ อาจพบว่าอุจจาระมีเลือดปนได้บ้าง
ติดเชื้อจากแบคทีเรียบางชนิด จะมีอาการปวดท้องรุนแรง และอาจยาวนานถึง 2-3 สัปดาห์
Poor Appetited
ความอยากอาหารลดลง
Cause
สาเหตุ
Viruses
ในเด็ก >> Rotavirus เป็นโรคที่รุนแรง และพบบ่อยที่สุด
**โดยเฉพาะในเด็กอายุที่ต่ำกว่า 2 ปี
ดีขึ้นภายใน 3-8 วัน
ในผู้ใหญ่ >> Norovirus และ Campylobacteria
Bacteria
Escherichia coli
Campylobacter
Salmonella
Shigella
Parasites
Fungus
การปนเปื้อนในอาหารและเครื่องดื่ม
การติดเชื้อจากคนสู่คนได้ เมื่อใกล้ชิดกับผู้ที่มีเชื้อในระยะแพร่กระจายเชื้อ
Lack immunity ภูมิต้านทานต่ำ
สุขศึกษาและความสะอาด
ไม่ล้างมือก่อนหรือหลังเข้าห้องน้ำ / การเปลี่ยนผ้าอ้อม/
เล่นในสนามเด็กเล่น
มารดาทำความสะอาดขวดนมเด็กไม่ถูกวิธี
Pathophysiology
พยาธิสรีระวิทยา
การเกิดโรคมีความสัมพันธ์กับ
จำนวนเชื้อ
ความรุนแรงของเชื้อ
ภูมิต้านทานของเด็กที่รับเชื้อ
*ปกติเชื้อโรคจะถูกทำลายโดยกรดกระเพาะอาหาร
การเกิดอุจจาระร่วงมีความสัมพันธ์กับ
เชื้อลุกลามเข้าไปในลำไส้ หลั่งสารพิษ
เกิดแผลลำไส้บวมแดง เป็นแผล
Diagnosis
ข้อวินิจฉัย
มีภาวะขาดน้ำ
เสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนการ
มีการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร
ผิวหนังมีการระคายเคืองเนื่องจากถ่ายอุจจาระบ่อย
ความวิตกกังวลเนื่องจากแยกจากครอบครัว
Nursing Care
กิจกรรมการพยาบาล
ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันและแก้ไขภาวะขาดน้ำ ให้สารน้ำทางปากหรือหลอดเลือดดำตามน้ำหนักตัว ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการขาดน้ำ ให้สารละลายน้ำตาลเกลือแร่ ORS เมื่อท้องเสีย
ดูแลให้ได้รับอาหารอ่อน
ดูแลเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ติดตามสัญญาณชีพเพื่อประเมินการติดเชื้อ
ให้ยาฆ่าเชื้อตามแผนการรักษา
ผิวหนังดูแลให้สะอาด ดูแลการระคายเคืองเนื่องจากถ่ายอุจจาระบ่อยด้วย Zinc Oxide Past (Steroid Cream)
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับหัตถการ/การดูแลอาการเมื่อกลับบ้าน
ติดตามผล Lab ที่แสดงถึงภาวะการติดเชื้อ
ให้การพยาบาลที่นิ่มนวล ส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนการให้เหมาะสมกับอาการเจ็บป่วยในขณะนั้น
จัดกิจกรรม ของเล่นที่เบี่ยงเบนสนใจเด็กเพื่อลดความกลัว วิตกกังวล เนื่องจากแยกจากครอบครัว
รักษาตามอาการ เช่นมีไข้ให้ยาลดไข้