Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, image, image, image,…
บทที่ 1 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจส่วนบน (URI)
ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน (Acute rhinosinusitis)
การพยาบาล
1.ดูแลเด็กพักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และหลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้ที่ป่วยเป็นไข้หวัด
2.ดูแลเด็กให้รับประทานยาปฏิชีวนะ เพื่อกำจัดเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดไซนัสอักเสบนาน 10 - 14 วัน
3.ดูแลเด็กให้รับประทานยาลดบวมของเยื่อบุจมูก เพื่อลดอาการคัดจมูกและอาการบวมของเยื่อบุจมูกทำให้น้ำมูกไหลเวียนได้ดีขึ้น
4.ดูแลเด็กให้รับประทานยาละลายเสมหะเพื่อลดความเหนียวของน้ำมูกและลดอาการคั่งค้างของน้ำมูกในโพรงไซนัส
ลักษณะอาการทางคลินิก
อาการของโรคหวัดที่เป็นแบบรุนแรง (severe upper respiratory symptoms)
อาการอื่นๆ ของไซนัสอักเสบ ได้แก่
เจ็บคอ หูอื้อ ลมหายใจมีกลิ่น (halitosis) เสียงขึ้นจมูก เยื่อบุจมูกแดง กดเจ็บบริเวณไซนัส post nasal drip ไม่ได้กลิ่น และปวดฟัน
อาการของโรคหวัดที่เป็นแบบต่อเนื่อง (persistent upper respiratory symptoms)
สาเหตุและระบาดวิทยา
การอักเสบของ maxillarysinus และ ethmoidsinusเกิดได้ตั้งแต่วัยทารก
การรักษา
การรักษาจำ เพาะ (specific treatment)
การรักษาประคับประคองตามอาการ
โรคหวัด (Common cold)
สาเหตุและระบาดวิทยา
ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส เชื้อที่พบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยทุกอายุคือ rhinovirus ซึ่งมีมากกว่า100 ชนิด
รองลงมา ได้แก่coronavirus, parainfluenza virus เป็นต้น
อาการแสดง เยื่อบุจมูกบวมแดง อาจพบเยื่อบุตาแดง ต่อม น้ำเหลืองที่คอโต มีpost nasal drip ได้
อาการของโรคหวัด ขึ้นกับอายุและชนิดของเชื้อไวรัส เด็กเล็กอาจมีไข้ และน้ำมูกเป็นอาการเด่น เด็กโตมักไม่มีไข้แต่อาจเริ่มด้วยอาการเจ็บคอหรือ ระคายคอ ต่อมามีน้ำมูกคัดจมูก ไอ อาการไอพบได้ประมาณสองในสามของผู้ป่วยเด็ก
การรักษา โรคนี้เป็นโรคที่หายได้เอง โดยไม่จำเป็นต้องให้ยารักษา ไม่จำเป็นต้องให้ ยาต้านจุลชีพ การรักษาที่อาจช่วยบรรเทาอาการ ระมัดระวังการใช้ibuprofen
การพยาบาล
1.ลดไข้ โดยการการเช็ดตัว กระตุ้นให้ดื่มน้ำ ถ้าไข้ไม่ลดให้ยาพาราเซตามอลตามแผนการรักษา
2.การระบายน้ำมูก
3.ลดอาการไอ กระตุ้นดื่มน้ำอุ่น หรือน้ำผึ้งผสมมะนาวป้ายลิ้น
4.ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
5.ดูแลให้อาหารอ่อนย่อยง่ายที่มีคุณค่าทางอาหารสูง
6.ดูแลให้พักผ่อน
7.สังเกตอาการที่ต้องพาไปพบแพทย์ หายใจหอบ หายใจเสียงดัง ชายโครงบุ๋ม ซึม ไม่ดื่มนมหรือน้ำ อาการป่วยมากขึ้น
โรคหูชั้นกลางอักเสบ (Acute otitis media)
สาเหตุสำคัญ ของการสูญเสียการได้ยินในเด็ก และการใช้ยาต้านจุลชีพที่ไม่เหมาะสมมากเกิน ความจำเป็น
สาเหตุ
-เชื้อไวรัส เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ30-50 ของการเกิด AOM ในเด็ก เชื้อที่พบบ่อย ได้แก่ respiratorysyncytialvirus(RSV)
-เชื้อแบคทีเรีย ที่พบเป็นสาเหตุของ AOM บ่อย ได้แก่ S. pneumoniae
การพยาบาล
-เมื่อเด็กมีอาการปวดหู หูอื้อ และมีไข้ ให้รับประทานยาพาราเซตามอล
-ป้องกันเด็กไม่ให้เป็นหวัดหรือโรคของทางเดินหายใจส่วนต้น รวมถึงหลีกเลี่ยงการไอแบบปิดปากแน่นหรือสั่งน้ำมูกแรง ๆ
-ไม่ซื้อยาหยอดหูใด ๆ มาใช้เอง
-ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์
โรคคออักเสบ / ทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน(Acute pharyngitis/ tonsillitis/ pharyngotonsillitis)
การรักษา
การให้ยาต้านจุลชีพ
การใช้ยาต้านจุลชีพในการติดเชื้อไวรัสพบว่าไม่มีประโยชน์ไม่ว่าจะเป็น การหวังผลป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำซ้อน
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนที่เป็นผลจากการเกิดปฏิกิริยาทางระบบอิมมูนทำให้ เกิดการอักเสบของอวัยวะอื่นๆ (non-suppurative complication)
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการลุกลามของเชื้อไปยังบริเวณใกล้เคียง (suppurative complications)
การรักษาตามอาการ
การลดไข้ในกรณีมีไข้ให้ยาลดไข้และเช็ดตัวลดไข้เช่นเดียวกับ การติดเชื้ออื่นๆ
การบรรเทาอาการเจ็บคออาจให้เป็นน้ำอุ่นผสมน้ำผึ้งมะนาว
การติดเชื้อของบริเวณคอหอย ทั้งบริเวณที่เป็น nasopharynx และ oropharynx และ/หรือต่อมทอนซิล โรคทอนซิลอักเสบพบบ่อยที่สุดในช่วงอายุ 3-14 ปีพบน้อยในเด็กเล็ก อายุต่ำกว่า 1 ปี
สาเหตุและระบาดวิทยา
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส ที่พบบ่อย ได้แก่adenovirus, influenza virus,parainfluenzavirus, rhinovirus, respiratory syncytial virus (RSV)
ลักษณะอาการทางคลินิก
อาการที่สำคัญ คือไข้และเจ็บคอแต่ในเด็กเล็กที่ยังไม่สามารถบอกอาการ ได้จะมาพบด้วยอาการน้ำลายไหลผิดปกติหรือไม่รับประทานอาหาร
ถ้าเป็นจากเชื้อแบคทีเรีย โดยเฉพาะ GABHS จะมีอาการไข้สูง เจ็บคอมาก ปวดศีรษะคลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง
ถ้าเป็นจากเชื้อไวรัส จะพบอาการนำคล้ายโรคหวัด คือ มีน้ำมูก คัดจมูก จาม อาจพบตาแดง น้ำตาไหล เสียงแหบ
โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจส่วนล่าง (LRI)
กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน (Acute laryngotracheobronchitis viral croup)
สาเหตุและระบาดวิทยาของโรค
-เชื้อที่พบเป็นสาเหตุส่วนใหญ่คือไวรัสที่พบบ่อยที่สุด คือ parainfluenza viruses
-ไวรัสอื่นๆ ที่พบเป็น สาเหตุ ได้แก่ influenza A และ B, respiratory syncytial virus (RSV),
-เชื้อแบคทีเรียอาจเป็นสาเหตุของ croup ได้แต่พบน้อย ได้แก่ Mycoplasma pneumoniae
Downes score ในการประเมินและ แบ่งระดับความรุนแรงของโรคตาม croup score
croup score 4-7 ระดับความรุนแรงปานกลาง (moderate croup)
croup score > 7 ระดับความรุนแรงมาก (severe croup)
croup score < 4 ระดับความรุนแรงน้อย (mild croup)
การรักษา
รักษาทั่วไปและการใช้ยาเพื่อลดการบวมของทางเดินหายใจ ได้แก่ corticosteroids และ nebulized epinephrine
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะพร่องออกซิเจน, ภาวะหายใจล้ม เหลว, ภาวะขาดน้ำ, bacterial tracheitis, ปอดบวมน้ำ (pulmonary edema), มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด, หัวใจหยุดเต้น
การป้องกัน
-หลีก เลี่ยงไม่ให้เด็กเล็กอยู่ในที่แออัด หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรือใกล้ชิด
-ถ้ามีสมาชิกในครอบครัวมีอาการหวัด หรือติดเชื้อในระบบหายใจควรให้ใช้ผ้าปิดปากปิดจมูกและล้างมือ
-ผู้ป่วย croup ทุกรายที่รับไว้ในโรงพยาบาล นอกจาก standard precaution แล้วต้องใช้ contact precaution
ร่วมด้วย
การพยาบาล แนะนำผู้ดูแล
ใช้ยาลดไข้ ยาลดน้ำมูก หรือแอนติฮีสตามีน โดยศึกษา การใช้ยาในเด็กใช้อย่างไรให้ปลอดภัยตามวัย เพื่อลดอาการบวมของกล่องเสียง หรือใช้ น้ำอุ่นผสมมะนาวลดไข้
ฝาปิดกล่องเสียงอักเสบเฉียบพลัน (Acute epiglottitis)
สาเหตุและระบาดวิทยาของโรค
-ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ Haemophilus influenzae type b
-โรคนี้พบได้ทุกวัย แต่มักพบในเด็กก่อนวัยเรียน อายุ 2-6 ปี
พยาธิกำเนิด
เชื้อแบคทีเรียจะลุกลามเข้าสู่บริเวณ supraglottic
เซลล์อักเสบส่วน ใหญ่จะเป็นเม็ดเลือดขาวชนิด polymorphonuclear
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง
ให้ออกซิเจนที่มีความชื้น
-งดให้อาหารทางปากและพิจารณาให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การรักษาแบบจำเพาะ การให้ยาต้านจุลชีพ ควรให้ยาที่เหมาะ สม
หลอดลมคอติดเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial tracheitis)
สาเหตุและระบาดวิทยาของโรค
-Bacterial tracheitis พบได้น้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นในเด็กอายุ 1-7 ปี
-ผู้ป่วยเกือบทั้งหมดมีการติดเชื้อไวรัสในระบบหาใจมาก่อน
ลักษณะทางคลินิก
-ผู้ป่วยมักจะเริ่มด้วยอาการ croup ไอเสียงก้อง เสียงแหบ
-การดูดเสมหะอาจช่วยให้ดีขึ้นชั่วคราว แต่อาจไม่เพียงพอ
การรักษา
-การรักษาที่สำคัญมากและต้องพิจารณาเร่งด่วน คือ การดูแลทางเดิน หายใจให้เปิดโล่ง
-ผู้ป่วยร้อยละ 50-90 จำเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจ หรือเจาะคอ
-ควรให้ออกซิเจนและสารน้ำให้เพียงพอ ติดตาม อาการใกล้ชิด
หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน (Acute bronchitis)
สาเหตุและระบาดวิทยาของโรค
-โรคนี้พบได้ทุกอายุและพบได้ตลอดปี เชื้อที่เป็นสาเหตุเปลี่ยนแปลงตาม อายุ
-เชื้อไวรัส respiratory syncytial virus (RSV) และ parainfluenza virus type
ลักษณะทางคลินิก
-ผู้ป่วยจะมีอาการคล้ายหวัด ได้แก่ มีไข้ หรืออาจไม่มีไข้ก็ได้ มีน้ำมูก คัดจมูก
ตามมาด้วยอาการของหลอดลม โดยมีอาการ ไอเป็นอาการที่สำคัญที่สุด
การรักษา
การรักษาตามอาการ
-การดื่มน้ำมากๆ อาจให้ดื่มน้ำผึ้งผสมมะนาว เพื่อทำให้ชุ่มคอและ บรรเทาอาการไอ
-ไม่แนะนำให้ใช้ยากด อาการไอในผู้ป่วยเด็ก (cough suppression)
-การให้ยากลุ่ม antihistamine, decongestant
การรักษาประคับประคอง
การทำกายภาพบำบัดทรวงอกเพื่อระบายเสมหะ
การรักษาจำเพาะ
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน ปอดแฟบใน รายที่มีการระบายเสมหะไม่ดี มีเสมหะคั่งค้าง
การพยาบาล แนะนำผู้ดูแล ดูแลเด็ก
-พักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำอุ่นบ่อยๆ เพราะน้ำเป็นยาละลายเสมหะที่ดีที่สุด
-หลีกเลี่ยง ควัน, กลิ่นฉุน, ควันบุหรี่, สารเคมี, ฝุ่น, สารระคายเคืองต่างๆ
ปอดบวม, ปอดอักเสบ (Pneumonia)
สาเหตุและระบาดวิทยาของโรค
-เชื้อที่พบเป็นสาเหตุบ่อยของโรคปอดบวมในเด็กแตกต่างกันในแต่ละ อายุ ได้แก่ ไวรัส
-เชื้อ แบคทีเรียที่พบบ่อยที่สุดในทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นทารกแรกเกิด) คือ Streptococcus pneumoniae เชื้อแบคทีเรียอื่นๆ
ลักษณะทางคลินิก
อาการสำคัญ คือ ไข้ ไอ หอบ ลักษณะทางคลินิกที่ตรวจพบ ได้แก่
มีไข้ ยกเว้นปอดบวมที่เกิดจากเชื้อ C. trachomatis มีอาการหายใจลำบาก หายใจอกบุ๋ม จมูกบาน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย
การตรวจหาเชื้อ atypical bacteria
ภาพรังสีทรวงอก
การตรวจ acute phase reactants
1.การตรวจนับจำนวนเม็ดเลือด (CBC)
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญของปอดบวม
-น้ำหรือหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด (parapneumonic effusion or empyema thoracis)
ฝีในปอด (lung abscess)
น้ำในเยื่อหุ้มปอดจากการติดเชื้อ (Parapneumonia effusion)
การรักษา
ยาต้านจุลชีพ
การเจาะระบายน้ำในเยื่อหุ้มปอด
การรักษาแบบประคับประคอง
การใส่ท่อระบายน้ำในเยื่อหุ้มปอด
สาเหตุและระบาดวิทยาของโรค
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เช่น Streptococcus pneumoniae
ลักษณะทางคลินิก
-ประวัติ มีการติดเชื้อที่ปอดนำมาก่อน มีไข้ ไอ หอบเหนื่อย ถ้ามีน้ำใน
-การตรวจร่างกาย ทรวงอกด้านที่มีน้ำในเยื่อหุ้มปอดเล็กน้อยอาจได้ยิน เสียง pleural rub
เสียงหวีด (Wheeze)
หลอดลมฝอยอักเสบเฉียบพลัน (Acute bronchiolitis)
การรักษา
-การให้ออกซิเจน ควรพิจารณาให้ออกซิเจน เมื่อ SpO2 < 95%
-การให้สารน้ำ (hydration) การให้สารน้ำเพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำ
-การให้ยาพ่น
ภาวะแทรกซ้อนในระยะแรก
การหยุดหายใจ
ภาวะหายใจล้มเหลว
Syndrome of inappropriate antidiuretic hormone (SIADH)
ภาวะปอดแฟบ
ภาวะติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน
การป้องกัน
-การป้องกันการติดเชื้อ RSV ในโรงพยาบาล
-การป้องกันการติดเชื้อ RSV ในผู้ป่วยเด็กทั่วไป
เสียงหวีดที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อไวรัส (Viral induced wheeze)
สาเหตุ
-Intraluminal airway obstruction
-Intramural airway obstruction
-Bronchospasm
แนวทางการรักษาผู้ป่วย
1.การพิจารณารับไว้ในโรงพยาบาล
2) ออกซิเจน แนะนำให้ออกซิเจน
3) ยาขยายหลอดลม
4) สเตียรอยด์(systemic corticosteroids)
สาเหตุ โรคหืด (asthma) เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดของเสียงหวีดในเด็ก อย่างไรก็ตามเสียงหวีด สามารถพบจากโรคหรือภาวะอื่นๆ
การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการป้องกันและการดูแลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจที่บ้าน
การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
4.การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษา
2.การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรับประทานยาตามแผนการรักษา
1.การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินโรค
การส่งเสริมประสิทธิภาพการหายใจในเด็ก : การทำกายภาพบำบัดทรวงอก
หลักการทั่วไป
การเคาะ ใช้อุ้งมือ ไม่ควรใช้ฝ่ามือ
ใช้ผ้ารองบนส่วนที่จะเคาะ
การจัดท่าเพื่ออาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก
ขณะเคาะหากเด็กไอ ควรใช้การสั่นสะเทือนช่วย