Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม :star: :,…
บทที่4 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม :star: :
ภาวะโลหิตจาง (Anemia) :checkered_flag:
สาเหตุเป็น 3 ชนิด
ภาวะที่มีการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง เช่น การนำธาตุเหล็กในร่างกายไปใช้ไม่ได้
2.ภาวะที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น เช่นอาจมีการสร้างแอนติบอดีย์ต่อเม็ดเลือดแดงในโรค
3.การเสียเลือด เช่นมีเลือดออกมากจากสาเหตุใดๆ ก็ตาม
อาการและอาการแสดงของภาวะโลหิตจาง
ผิวหนังซีด จะเห็นได้ชัดบริเวณริมฝีปาก เยื่อบุตา เล็บมือ ฝ่ามือ เหงือก
ระบบประสาท ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เป็นลม ง่วงนอนบ่อย
การวินิจฉัยโรค
ตัวเหลืองในช่วงทารกแรกเกิถ้ามีภาวะซีดร่วมกับตัวเหลือง นึกถึงภาวะ hemolytic anemia เช่น hereditary spherocytosis
การเสียเลือด (blood loss) ประจำเดือนออกมากหรือนานผิดปกติเลือดกำเดาไหลบ่อย
การตรวจร่างกาย
หน้าผากโหนก (frontal bossing)
กระดูกกรามและ
ขากรรไกรกว้าง
การรักษา
รักษาตามสาเหตุของภาวะโลหิตจาง แต่ละสาเหตุจะมียาและวิธีการรักษาเฉพาะที่แตกต่างกัน การวิเคราะห์เพื่อทราบสาเหตุที่แท้จริงจึงสาคัญ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.มีภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายพร่องออกซิเจนจากภาวะซีด
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้พักผ่อนและกาหนดกิจกรรมที่ผู้ป่วยทำได้ตามความรุนแรงของภาวะซีด เพื่อลดความ
ต้องการการใช้ออกซิเจนในร่างกาย
2.ดูแลให้ได้รับอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง เช่น ธาตุเหล็ก
ระบบทางเดินอาหาร เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด อาหารไม่ย่อย
โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย (Thalassemia) :checkered_flag:
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างเส้นโพลีเพปไทด์ที่ประกอบกันเป็นฮีโมโกลบิน ยีนที่ผิดปกตินี้ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessive
พยาธิสภาพของโรค
ชนิดของธาลัสซีเมีย
Hb Bart’shydrops fetalis ครรภ์เป็นพิษ ความดันเลือดสูง
Homozygous β-thalassemia ร่างกายแคระแกร็น การเจริญเติบโต
Hb H disease ซีด เหลือง ตับม้ามโตไม่มาก
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการซีดเรื้อรัง ประวัติครอบครัว
การตรวจร่างกาย อาการที่มักตรวจพบ ได้แก่ อาการซีด ตับ ม้ามโต เหลือง ใบหน้าแบบ thalassemia เป็นต้น
การรักษา
การให้เลือด แบบพึ่งเลือด หากไม่ได้รับเลือดจะมีอาการเหนื่อย ไม่สามารถทำกิจวัตรต่างๆได้ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการ ตั้งแต่อายุน้อยกว่า 2 ปี มีอาการซีดมาก ฮีโมโกลบินต่ำกว่า 7 ก./ดล
การให้ยาขับเหล็ก เพื่อป้องกันและลดภาวะเหล็กเกินในเลือด หากเหล็กสูง > 1,000 mg/dl (ปกติค่า serum ferritin ไม่เกิน 300 mg/dl)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.ผู้ป่วยเด็กมีภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนจากภาวะซีด
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ออกซิเจน ตามความเหมาะสมตามแผนการรักษา ในกรณีที่เด็กซีดและหายใจ เหนื่อยหอบ และลดการใช้ออกซิเจนของร่างกายโดยให้นอนพักผ่อน
3.วัดสัญญาณชีพ ประเมินภาวะซีดจากสีของริมฝีปาก เยื่อบุตา
2.ดูแลให้เลือดตามแผนการรักษา
โรคฮีโมฟีเลีย (Hemophilia) :checkered_flag:
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างปัจจัยการแข็งตัวของเลือด ชนิดที่พบบ่อยในเด็กไทย ได้แก่ hemophilia A ,B ซึ่งขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือดตัวที่ 8 และ
พยาธิสภาพ
ขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือดซึ่งเป็นโปรตีนทีไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือดเกล็ดเลือดจะมารวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อเสริมกับไฟบรินทำให้เกิดลิ่มเลือดที่แข็งแรง 2-3 วันหลังจากนั้น จะมีกลไกการละลายลิ่มเลือด
อาการและอาการแสดง
จ้ำเลือดใหญ่ๆ ตามลาตัวและแขนขา
เลือดออกในข้อและในกล้ามเนื้อ เมื่อเริ่มหัดคลาน ตั้งไข่ หรือเดิน ข้อที่มักมีเลือดออกมากที่สุด
เลือดออกเมื่อฟันน้ำนมหลุด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ได้แก่ การมีเลือดออกจานวนมากเมื่อได้รับการกระทบกระแทกหรือมีบาดแผลเพียงเล็กน้อย จ้ำเลือดใหญ่ๆ
Venous clotting time (VCT) ในผู้ปวยโรคฮีโมฟีเลียชนิดรุนแรงมาก
การรักษา
การดูแลแบบองค์รวม
มีเครื่องหมายประจาตัวแสดงโรคฮีโมฟีเลีย
การออกกาลังกาย ผู้ปวยโรคฮีโมฟีเลียต้องออกกาลังกายทุกวัน กีฬาที่เหมาะสม
การรักษาเฉพาะที่
ถ้ามีแผลเลือดออก เช่น ถูกมีดบาด ให้รีบเช็ดล้างแผลให้สะอาด และกดบริเวณแผลด้วยผ้าแห้งสะอาด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.ผู้เด็กเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการมีเลือดออกในส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ภาวะช็อกจากการเสียเลือด การสูญเสียหน้าที่ของอวัยวะส่วนที่มีเลือดออก
กิจกรรมการพยาบาล
3 more items...
การพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางนีโอพลาสม :explode:
มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) :checkered_flag:
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน แต่พบว่าภาวะเหล่านี้มีอุบัติการณ์ทำให้เกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว ได้แก่ พันธุกรรม
พยาธิสภาพ
เกิดจากมีเซลล์ต้นกำเนิด (stem cell) ในไขกระดูก กลายไปเป็นเซลล์มะเร็ง แล้วแบ่งตัวไม่หยุด และไม่มีการเจริญเป็นตัวแก่ มีผลให้การทำงานของไขกระดูกผิดปกติ เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนจะแทรกซึมเข้าไปในอวัยวะต่างๆ
อาการและการแสดง
ซีด อ่อนเพลีย หอบเหนื่อย หัวใจเต้นเร็ว หัวใจวายจากซีดมาก
ระบบทางเดินอาหาร จะมาด้วยอาการเลือดออก อาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด
ตา จะพบเลือดออกในจอตา ตาโปน
การวินิจฉัยโรค
การตรวจร่างกาย เพื่อสังเกตภาวะซีด ภาวะเลือดออกที่ผิวหนัง
CBC อาจพบปริมาณเม็ดเลือดแดง hematocrit ต่ำ
การรักษา
1.การให้ยาเคมีบำบัด (chemotherapy) เพื่อทำลายและกดการสร้างเซลล์มะเร็ง
2.การใช้รังสีรักษา (radiotherapy) ที่บริเวณกะโหลกศีรษะ เพื่อป้องกันการกระจายของเซลล์มะเร็งเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล: เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากภูมิต้านทานของร่างกายลดลง จากไขกระดูกถูกกดการทำงานทำให้การสร้างเม็ดเลือดขาวลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
3 more items...
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma) :checkered_flag:
สาเหตุ
เชื้อไวรัส โดยเฉพาะ Ebstein-Bar virus (EBV)
การได้รับยากดภูมิคุ้มกันเป็นระยะเวลานานๆ
Hodgkin's disease (HD)
เป็นมะเร็งของระบบน้ำเหลือง (lymphoid system) ชนิดหนึ่ง มีลักษณะผิดปกติของเซลล์ต่อม ทำให้ต่อมน้ำเหลืองโตโดยไม่ทราบสาเหตุ พบประมาณร้อยละ 15
พยาธิสภาพ
ต่อมน้ำเหลืองมีขนาดโตขึ้น เริ่มโตบริเวณคอและเมดิเอสตินัม แล้วจึงแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลืองที่ติดต่อกัน จากนั้นจึงแพร่ไปยังอวัยวะอื่นแพร่กระจายไปได้ทั่วร่างกาย เช่น ตับ ม้าม ปอด และไขกระดูก
อาการและอาการแสดง
อาการที่พบบ่อยที่สุด คือ ต่อมน้ำเหลืองโต ร้อยละ 90 ต่อมน้ำเหลืองที่บริเวณ Supraclavicle ร้อยละ 60-80
อาการเบื่ออาหารอ่อนเพลียน้ำหนัก ลดลงร้อยละ 10 ระยะเวลา 6 เดือนที่ผ่านมา
การวินิจฉัยโรค
จากการซักประวัติและการตรวจร่างกาย มีต่อมน้ำเหลืองโต ตรวจต่อมน้ำเหลืองทุกกลุ่ม
2.การตรวจ CBC ส่วนมากเม็ดเลือดขาว neutrophilic เพิ่มขึ้น หรืออาจลดลง
การรักษา
รังสีรักษาและการให้เคมีบำบัด ในรายที่เป็นระยะที่ 1 และ 2 ตำแหน่งเดียว ยังไม่มีการแพร่กระจายการรักษาด้วยรังสีรักษาขนาดสูงอย่างเดียว ระยะที่ 3 ให้ฉายรังสีต่อมน้ำเหลืองตั้งแต่ขาหนีบ ด้านหลังเยื่อบุช่องท้องเพิ่มร่วมกับให้เคมีบำบัด และในระยะที่ 4 จะให้เคมีบำบัด การให้เคมีบำบัดร่วมกับการให้รังสีรักษาเป็นการรักษาที่ได้ผลดีที่สุด
มะเร็งของไต (Wilms’tumor, Nephroblastoma) :checkered_flag:
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน แต่เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่พบมากในวัยเด็ก จึงเชื่อว่าอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อชั้น mesoderm ผิดปกติตั้งแต่ระยะที่ทารกเป็นตัวอ่อน (embryo)
พยาธิสภาพ
ก้อนมะเร็งมักเป็นก้อนขนาดใหญ่ ทำให้มีอาการท้องโต หรือคลำก้อนได้บนท้อง นอกจากนี้การที่ก้อนโตเร็ว และอยู่ภายในเนื้อไต จึงทาให้เยื่อก้อนหุ้มมะเร็งบางลง
อาการและอาการแสดง
คลำพบก้อนที่ท้อง เป็นอาการที่พบมากที่สุด ก้อนเรียบ กดไม่เจ็บ กดเจ็บนั่นคือ
การรักษา
การผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก
รังสีรักษา ที่บริเวณตำแหน่งไต
การพยาบาล
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด ห้ามคลำท้องเด็ก โดยเขียนป้าย “ห้ามคลำท้อง”
การพยาบาลหลังผ่าตัด ประเมินการทางานของระบบทางเดินอาหาร เช่น ฟังเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ ประเมินอาการท้องอืด
มะเร็งของเซลล์ประสาท (Neuroblastoma) :checkered_flag:
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน แต่เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่พบมากในวัยเด็ก และมีรายงานพบว่ามีผู้ป่วยหลายคนในครอบครัวเดียวกัน จึงมีข้อสันนิษฐานว่าอาจมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
พยาธิสภาพ
ก้อนเนื้องอกมักเป็นก้อนขนาดใหญ่ที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ประสาทอ่อน (neural crest) ซึ่งมักมีทั่วไปในร่างกาย แต่มักพบที่บริเวณต่อมหมวกไตชั้นเมดัลลา (adrenal medulla) จึงทำให้มีอาการท้องโต หรือคลำก้อนได้ในท้อง
อาการและอาการแสดง
มีก้อนในช่องท้อง หรือส่วนอื่นๆ เช่น ในช่องอก คอ ก้อนบริเวณหลังลูกตา
อาการทั่วไป เช่น มีไข้ น้าหนักลด อ่อนเพลีย
การวินิจฉัยโรค
ตรวจ ferritin ในเลือด ดูการพยากรณ์โรค ถ้าสูงจะมีการการพยากรณ์โรคไม่ดี
การรักษา
การผ่าตัด ทำในระยะทื่ 1 ,2 การให้รังสีรักษา การให้ยาเคมีบำบัด ให้ในระยะที่ 2 ขึ้นไป
การพยาบาล
ประเมินความดันเลือดเป็นระยะๆ หรือการดูแลผิวหนังให้แห้งเพราะเด็กจะมีเหงื่ออกมาก
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี
UDA6280003