Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:red_flag: บทที่ 2 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ 1420_0 - Coggle…
:red_flag: บทที่ 2 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
:star:โรคหัด/โรคหัดเยอรมัน (MEASLES/RUBEOLA)
-
ระยะฟักตัว ประมาณ 10 วันหลังจากได้รับเชื้อจนกระทั่งมีไข้ หรือประมาณ 14 วัน จนกระทั่งปรากฏผื่น
ระยะเวลาติดต่อ : ประมาณ 8-12 วัน
การระบาดของโรค : ตลอดทั้งปี วัยเด็กมักเป็นโรคหัดอายุ 1-7 ปี
:star:อาการและอาการแสดง ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอ น้ำมูกน้ำตาไหล เยื่อบุตาอักเสบ กลัวแสง หนังตาบวม ทอนซิลโตและแดง ในวันที่ 2-3 ตรวจพบ Koplick’s spot ลักษณะเม็ดขาวเล็กๆขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบนเยื่อบุกระพุ้งแก้มที่แดงจัด
-
:red_flag:โรคแทรกซ้อน สมองอักเสบ (Encepalitis) ไข้ อาเจียน ซึม ชัก และระคายเคืองของเยื่อห้มุสมอง เป็นโรคหัดขณะตั้งครรภ์ อาจทำ ให้เด็กตายคลอดหรือคลอดก่อนกำหนดได้
:check:การรักษา เป็นโรคที่หายได้เอง ให้พักผ่อน ยาลดไข้ และให้น้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ถ้าติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำต้องให้ยาต้านจลุชีพทีเหมาะสม
:check:การป้องกัน การให้ภมูิคุ้มกันที่สามารถป้องกันโรคหัดได้ทันที โดยให้ Gamma globulin ฉีดเข้ากล้ามเนื้อภายใน 5 วันหรือน้อยกวา่ 6 วันหลังจาก ได้รับเชื้อ
-
-
-
:star:ไอกรน (Pertussis, Whooping cough)
:star:สาเหตุ เกิดจาก “เช้ื้อไอกรน” ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “บอร์เดเทลลาเพอรท์สั ซิส” (Bordetella pertussis) อยู่ในน้ำมูก น้ำลาย และเสมหะของผู้ป่วย
:star:พยาธิสภาพ Bordetella pertussis มีหลายชนิดที่ทำให้ เกิดพยาธสิภาพของโรคบางชนิดทำให้เช้ือเกาะติดกับเยื่อบุของขนพัดโบกของทางเดินหายใจ การอักเสบของเยื่อบุ เกิดการตายที่หลอดลมเล็ก ทำให้เกิด bronchopneumonia
-
:!:ภาวะแทรกซ้อนของโรคไอกรน โดยส่วนใหญ่โรคไอกรนจะหายได้เป็นปกติ มีเพียงส่วนน้อยที่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดอักเสบ/ปอดบวม (Pneumonia) ปอดแฟบ (Atelectasis)
:check:การวินิจฉัยโรคไอกรน จากประวัติการสัมผัสโรค อาการไอติดต่อกันนานมากกว่า 2 สัปดาห์ข้ึนไป การเพาะเชื้อ การตรวจหาแอนติบอดี้หรือสารภมูิต้านทาน การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
:recycle:วิธีรักษาโรคไอกรน ควรรีบไปพบแพทย์เม่ื่อมีอาการชัดเจนว่าเป็นโรคไอกรน ในผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรงและไม่มีภาวะแทรกซ้อน แพทย์จะให้การรักษาแบบผู้ป่วยนอกและให้ยา ปฏิชีวนะ ให้เด็กอยู่ในที่ที่มีอากาศปลอดโปร่ง ให้ดื่มน้ำอุ่นมาก ๆ
:star:บาดทะยัก (Tetanus)
-
-
:star: พยาธิสภาพ เชื้อบาดทะยักเข้าส่รู่างกายในรูปของสปอร์ แล้วเจริญอยู่ในรปูของ vegetative form และผลิตท๊อกซินหรือสารพิษ ชนิด exotoxin
-
:recycle:การรักษา ให้ tetanus antitoxin (TAT) ทางหลอดเลือดดำ และให้ toxiod หรือ TIG (tetanus immnoglobulin) ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น peniccilin, methacillin, gentamycin
:star:โรคคางทูม (Mumps)
-
-
:star: การติดต่อ ไอ จาม หายใจรดกัน 1-2 วัน ก่อนเริ่มมีอาการจนถึง 9 วันหลังจากต่อมน้ำลายพาราติดเริ่มบวม ระยะฟักตัว 12-25 วัน
:star:อาการ ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ขากรรไกรบวมแดง ปวด ร้าวไปที่หูขณะกลืน เคี้ยว อ้าปาก อาการบวมจะค่อยๆยุบหายไปใน 7-10 วัน
-
:recycle:การรักษา รักษาตามอาการ : ให้นอนพัก ดื่มน้ำมากๆ เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้ ปวด บวม : ประคบ บ้วนปากด้วยน้ำเกลือบอ่ยๆ
-
-
-
-
-
-