Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ :star:,…
บทที่7 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ :star:
หน้าที่ของระบบทางเดินปัสสาวะ :red_flag:
ขับถ่ายสารที่เผาผลาญมากับปัสสาวะ สมดุลสารน้ำและอิเล็กโตรไลท์ และภาวะกรดด่าง ขับสารเคมีและสารพิษ
Urinary tract infection :red_flag:
ทางที่เชื้อโรคเข้าสู่ทางเดินปัสสาวะ
ทางกระแสเลือด (blood stream) กลุ่ม salmonella/mycobacterium
ทางหลอดปัสสาวะ เป็นทางที่พบบ่อยที่สุด
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
อายุและเพศ เพศหญิงติดเชื้อง่ายกว่าเพศชาย
การได้รับนมมารดา จะได้ภูมิคุ้มกันจากมารดา
การกลั้นปัสสาวะ
พยาธิสรีรวิทยา
ร่างกายจะมีการทาลายเชื้อโรคทันทีภายใน 30 นาที จะพบเม็ดเลือดขาวจานวนมาก กระเพาะปัสสาวะมีการระคายเคือง แบคทีเรียรวมตัวเป็นกลุ่มๆ
อาการและอาการแสดง
ทารกแรกเกิด : ไข้ เบื่ออาหาร ไม่ดูดนม เลี้ยงไม่โต
ทารก (1 เดือน- 1 ปี) :ไข้สูง ร้องปวดท้อง ปัสสาวะบ่อย
เด็กเล็ก (1 – 3 ปี): มีไข้สูง เบื่ออาหาร อาเจียน อุจจาระร่วง ปัสสาวะขัด
เด็กวัยก่อนเรียน (3 – 6 ปี) :อาการจะบ่งชัดว่ามีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ ได้แก่ ปวดท้องส่วนล่าง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย: พบอาการกดเจ็บขณะคลำ(tenderness) แสดงว่า มีการติดเชื้อหรืออุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
การตรวจปัสสาวะ: ขุ่น มีกลิ่นเหม็น พบโปรตีนที่ปนออกมากับปัสสาวะ
การรักษา
ดูแลการให้อาหารและน้ำ ยาลดไข้ แก้ไขภาวะความเป็น กรดโดยให้อาหารโปรตีนต่ำ
การให้ยาปฏิชีวนะ ดูจากผลการเพาะเชื้อและการตอบสนองต่อยาตัวใด เช่น Amoxycillin
ปัญหาทางการพยาบาล
Acute pain relates to UTI/Infection
กิจกรรมการพยาบาล
2.สังเกตและบันทึกสี กลิ่น และจานวนปัสสาวะ
1.ประเมินภาวะน้ำเข้าน้ำออก
3ดูแลให้ดื่มน้ำผลไม้ เช่น ส้ม องุ่น
Acute Pyelonephritis :red_flag:
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ที่พบบ่อยได้แก่เชื้ออีโคไล (E.coli) เป็นเชื้อที่พบในอุจจาระของคน
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง หนาวสั่นมาก ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนร่วมด้วย
การวินิจฉัย
อาการเคาะเจ็บตรงบั้นเอวข้างใดข้างหนึ่ง โดยการใช้การปั้นทุบเบาๆ ตรงบั้นเอว 2 ข้าง
ปัสสาวะมีลักษณะขุ่น ตรวจพบปริมาณเม็ดเลือดขาว
การรักษา
รักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ ให้นน้ำเกลือทางหลอดเลือดดา (กรณีที่ผู้ป่วยกินไม่ได้ หรืออาเจียน )
แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ามากๆ เพื่อช่วยขับเชื้ออกทางปัสสาวะ
Acute Glomerulonephritis :red_flag:
พบบ่อยที่สุด ช่วงอายุ 2-12 ปี พบมากที่สุด อายุ 6 ปีจะเกิดภายหลังการติดเชื้อ โดยถ้าติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน
พยาธิสภาพ PSAGN
เป็นโรคที่เกิดจากอิมมูนคอมเพล๊ก
เกิดจาก สารแอนติเจนของเชื้อสเตรบโตคอคคัส มีประจุไฟฟ้าชนิดบวกส่วนหนึ่งไปฝังตัวไปฝังตัวอยู่ในผนังหลอดเลือดฝอยส่วนโกลเมอรูรัสของไต
เกิดมีการกระตุ้นคอมพลีเมนท์ในกระแสเลือด
ระยะการเกิดโรค
ระยะฟักตัว หรือระยะแฝง (latent period) คือระยะตั้งแต่ได้รับเชื้อจนถึงก่อนแสดงอาการของไตอักเสบ กินเวลา 8-21 วัน
ระยะไตอักเสบ
อาการและอาการแสดง
บวมทั้งตัว เห็นชัดบริเวณใบหน้าและรอบตา
Oliguria ปัสสาวะออกน้อยกว่า 100 cc/day
Systemic symptoms อาการแสดงเฉพาะระบบ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
การวินิจฉัย
1.การตรวจปัสสาวะ
การบาดเจ็บของโกลเมอรูรัส คือ ปัสสาวะเป็นเลือดและพบโปรตีนในปัสสาวะ
2.การตรวจเลือด
การตรวจทางเคมี พบ BUN , Cr สูงขึ้น
การรักษา
1.ร้อยละ 70-80 จะหายขาดเนื่องจากอิมมูนคอมเพล๊กซ์ถูกขับออกทางกระแสเลือดและเนื้อไต
2.เป็นการรักษาแบบประคับประคอง และควรป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น เช่น ไตวาย
3.อาหาร จากัดเกลือในรายที่บวมและความดันโลหิตสูง
3.การตรวจน้ำเหลืองวิทยา (serology) -C3 จะต่ำ
Nephrotic syndrome
:red_flag:
สาเหตุ
Congenital nephrotic syndrome
primary nephrotic syndrome เด็กชายมากกว่าเด็กหญิง
secondary nephrotic syndrome กลุ่มทราบสาเหตุเกิดจากยา
พยาธิสรีรวิทยา
เชื่อว่ามีความผิดปกติของ T-cell เกิดอาการเปลี่ยนแปลงที่ glomerular basement membrane มีอิมโมนูกลอบูลินติดอยู่
อาการ
บวม ระบบทางเดินอาหาร การหายใจลำบาก ความดันโลหิตสูง เส้นผมหยาบและแห้ง
หลักสาคัญในการดูแล
การจำกัดกิจกรรม
การให้อาหาร
การป้องกันการติดเชื้อ
การรักษาอาการบวม
การให้ภูมิคุ้มกันโรค
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบต่อมไร้ท่อ :<3:
ภาวะพร่องไธรอยด์ฮอร์โมน (Hypothyroidism
สาเหตุการพร่องไธรอยด์ฮอร์โมน
ต่อมไธรอยด์มีขนาดเล็กกว่าปกติ หรืออยู่ผิดที่
การผลิตและหลั่งฮอร์โมนผิดปกติ
เกิดจากความผิดปกติของต่อมใต้สมอง หรือไฮโปธาลามัส หรือระบบประสาทส่วนกลาง
อาการและอาการแสดง
ตัวอ่อนปวกเปียก
นอนหลับมาก ไม่ค่อยร้องกวน
ท้องอืด ท้องผูก
ขับถ่ายขี้เทาช้า
การวินิจฉัย
การคัดกรอง = การตรวจระดับ TSH ในทารกที่มีอายุ 3-6 วัน และอีกครั้งเมื่อ 2-6 สัปดาห์ ซึ่งในเด็กที่มีภาวะพร่องไธรอยด์ฮอร์โมนปฐมภูมิจะพบว่ามี TSH สูงกว่าปกติ
TSH สูง (ปฐมภูมิ) ทุติยภูมิ (TSH ต่ำกว่าปกติ)
การรักษา
การรักษาและติดตามให้มีระดับไธรอยด์ฮอร์โมนอยู่ในเกณฑ์ปกติ การเจริญเติบโต พัฒนาการ thyroid function test และอายุกระดูก
Hypothyroidism ด้วยยาการรักษา โดยการให้ยาไธรอกซิน โดยให้ชนิดรับประทานตามช่วงอายุเพื่อให้ระดับ
serum T4 /T3 กลับมาปกติ
Diabetes insipidus, DI :red_flag:
โรคที่เกิดจากความล้มเหลวของ Posterior pituitary grand ในการหลั่ง ADH ทำให้เกิดความพร่องหรือขาด ADH
เบาจืดจากความผิดปกติของไต
สาเหตุ เกิดจากไตไม่ตอบสนองต่อ ADH สามารถถ่ายทอดทางโครโมโซมเพศได้
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะมากผิดปกติ
ทารกมีอาการขาดน้ำ กระสับกระส่าย
เบาจืดจากความผิดปกติของสมอง
สาเหตุ เกิดจากการขาด ADH
อาการและอาการแสดง
มีการสูญเสียน้ำทางปัสสาวะและอาจทำให้เกิดภาวะขาดน้ำได้
ผู้ป่วยจะปัสสาวะ > 30-40 มล./กก./วัน
การวินิจฉัย
จากอาการและอาการแสดง ปัสสาวะใส ปริมาณมากกว่า 4 cc/kg/hr ทั้งๆที่มีอาการขาดน้ำและกระหายน้ำมาก
ผลจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบว่า
-Serum osmolarity > 280 mOsm/l
มีซีรัมโซเดียมสูงกว่า 145 mEq/l
การทดสอบการอดน้ำ (Water deprivation test) โดยการให้อดน้ำในเด็กเล็ก 4-6 ชม. และเด็กโต 6-8 ชม.
การรักษา
เบาจืดจากการผิดปกติทางสมอง
ถ้าผู้ป่วยไม่มี Concurrents loss อื่นๆ
-ให้เกิด Total fluid intake = urine output + insensible water loss
ให้ DDAVP เป็น long acting ADH โดย
พ่นทางจมูกหรือฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
เบาจืดจากความผิดปกติของไต
โดยการจำกัดเกลือ
ให้ยาช่วยลดปริมาณปัสสาวะ เช่น Thiazides,
การพยาบาลโรคเบาจืด
1.ปัญหาการขาดน้ำและมีภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลท์
-ดูแลให้ได้รับน้าที่เพียงพอและสังเกตอาการขาดน้ำ
2.ในผู้ป่วยที่สร้าง ADH ได้บ้าง ให้ chlorpropamide และสังเกตอาการข้างเคียง คือภาวะ Hypoglycemia
โรคเบาหวานในเด็ก (Juvenile Diabetes) :red_flag:
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะมาก ดื่มน้ำมาก กินจุ น้ำหนักลด
ระดับ FBS > 126 mg%
GTT 2 hrs. > 140 mg%
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง อาจเกิดจากพันธุกรรม การติดเชื้อที่ทาให้ตับอ่อนถูกทำลาย
การรักษา
ไม่หายขาด แต่ปรับตัวได้คือการให้อินซูลินทดแทน ดูแลระดับน้ำตาลให้ได้ค่าในช่วง 80-150 มก./ดล.
มีค่า HbA1C < ร้อยละ 7 ร้อยละ 6-9
ภาวะแทรกซ้อน
Diabetic Ketoacidosis
(DKA)
การรักษาพยาบาล
การควบคุมระดับน้ำตาล
การควบคุมระดับความดันโลหิต
การใช้ยาอย่างถูกต้อง
การวางแผนการพยาบาล
ด้านอาหารเพื่อรักษาสภาพระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ภาวะปกติ
การออกกำลังกาย
ส่งเสริมให้มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการตามวัย
ต่อมไธรอยด์ :red_flag:
ต่อมไทรอยด์ จะทำหน้าที่จับไอโอดีนจากอาหารที่รับประทานทานเข้าไป แล้วนาไปรวมกับกรดอะมิโน Tyrosine เพื่อสร้างไทรอยด์ฮอร์โมน triiodothyronine (T3) และ thyroxine (T4)
หน้าที่ของ Thyroid Hormone
ควบคุมเมตาบอลิซึม เพิ่มการใช้ออกซิเจน
มีบทบาทสาคัญที่ควบคุม อุณหภูมิของร่างกาย
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี UDA6280003