Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินอาหารที่รักษาทางยา
Gastritis ภาวะอักเสบของกระเพาะอาหาร
สาเหตุ
การติดเชื้อ Helicobacter pylori
การรับประทานยา NSAID
ความเครียด (stress)
รับประทานอาหารรสจัด
การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา
อุบัติเหตุรุนแรง (severe trauma)
อาการสำคัญ
ปวดท้องแบบแสบร้อน จุกเสียดท้อง คลื่นไส้อาเจียน เรอ ท้องอืด
อาการและอาการแสดง
บางครั้งจะไม่แสดงอาการ ส่วนมากผู้ป่วยจะบอกเรื่องอาการคลื่นไส้อาเจียน อาการปวดท้องเป็นๆหายๆ อย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป
Diarrhea อุจจาระร่วง
ชนิดของอุจจาระร่วง
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (acute diarrhea) อุจจาระร่วงเฉียบพลัน ใน 24 ชม. ไม่เกิน 7 วัน
อุจจาระร่วงยืดเยื้อ (persistent diarrhea) เกิดจากการติดเชื้อนาน 8-13 วัน
อุจจาระร่วงเรื้อรัง (chronic diarrhea) ถ่ายอุจจาระร่วงติดต่อกันทุกวันนานมากกว่า 14 วันขึ้นไป
สาเหตุ
การติดเชื้อ
เชื้อไวรัส ได้แก่ rotavirus
เชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ Salmonella
ขาดเอนไซม์และน้ำย่อย
การดูดซึมบกพร่อง
อาการและอาการแสดง
ถ่ายอุจจาระเหลว
อาการขาดน้ำ
ขาดน้ำระดับเล็กน้อย (mild dehydration)
ขาดน้ำระดับปานกลาง (moderate dehydration)
ขาดน้ำระดับรุนแรง (severe dehydration)
การรักษา
รักษาภาวะขาดน้ำ
ระยะทดแทนน้ำ
ระยะคงไว้ซึ่งความสมดุลของสารน้ำและเกลือแร่
ป้องกันมิให้เกิดภาวะขาดน้ำ
กำจัดเชื้อออกจากลำไส้
ยาที่มีผลเปลี่ยนแปลง normal flora ได้แก่ กลุ่ม prebiotics
ยาที่มีฤทธิ์ดูดซับน้ำหรือสารพิษ
ยาที่ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้
ยาลดการหลั่งน้ำและเกลือแร่จากลำไส้
ยาปฏิชีวนะ
Gastroenteritis กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส ได้แก่ Rota virus มักระบาดในช่วงฤดูหนาว การเกิดโรคมีความสัมพันธ์กับจำนวนเชื้อความรุนแรงของเชื้อและภูมิต้านทานของเด็กที่รับเชื้อ
เข้าไปซึ่งปกติเชื้อโรคจะถูกทำลายโดยกรดในกระเพาะอาหาร
อาการและอาการแสดง
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้องอย่างรุนแรงอาจพบไข้สูงครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลียและหนาว
สั่นได้
การรักษา
ส่วนใหญ่เป็นการรักษาตามอาการ เช่น รักษาภาวะขาดน้ำ ให้ยาลดไข้ ในกรณีที่มีไข้ โดยทั่วไปไม่มีความ
จำเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ ยกเว้น ในเด็กที่มีภูมิต้านทานต่ำ
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินอาหารที่รักษา ด้วยการผ่าตัด
Hirsprung's disease ลำไส้โป่งพองแต่กำเนิด
สาเหตุ
เกิดจากการขาดเซลล์ประสาทพาราซิมพาเธติก ที่ควบคุมการขยายและการหดตัวบริเวณ mesenteric ทางเดิน
อาหารขาดเซลล์ประสาท (ganglionic cells) มาเลี้ยง บริเวณที่มีพยาธิสภาพไม่มีเซลล์ประสาทมาเลี้ยง
อาการและอาการแสดง
ทารกแรกเกิด พบถ่ายขี้เทาช้า หลัง 24 ชั่วโมงหลังเกิด ท้องอืด อาเจียนมีสีน้ำดีปน
ในทารกและเด็ก มีประวัติถ่ายขี้เทาช้า ท้องผูก อุจจาระ อาจมีก้อนเล็กแข็ง ถ่ายยาก เนื่องจากสูญเสียน้ำค้าง
อยู่ลำไส้ใหญ่นาน
ภาวะแทรกซ้อนก่อนผ่าตัด
ลำไส้อักเสบ (enterocolitis)
การแตกทะลุ (perforation) ของลำไส้ส่วนเหนือต่อการอุดกั้น
การรักษา
การรักษาประคับประคอง
การผ่าตัดเอาลำไส้ใหญ่มาเปิดที่หน้าท้อง
การผ่าตัดเพื่อการรักษา
Intussusception ภาวะลำไส้กลืนกัน
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ เชื่อว่าเกิดจากลักษณะทางกายวิภาคของลำไส้ขาดการหมุนตัวตามปกติ
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องแบบเสียดหรือบิด ช่วงแรกอาเจียนเป็นเศษอาหารต่อมาจะเป็นน้ำย่อย อาเจียนตลอด เป็นสีน้ำดีปน ถ่ายอุจจาระเป็นมูกปนเลือด เหมือนแยมหรือคล้ายเยลลี่
การรักษา
การรักษาโดยไม่ผ่าตัดทำ hydrostatic reduction
การรักษาโดยการผ่าตัดทำโดยการผ่าตัดเปิดหน้าท้องเด็กแล้วใช้มือรูด (milking) จากด้านปลาย เพื่อดัน
ส่วนนำให้ถอยออกไปจนลำไส้หายกลืนกัน
Diaphragmatic Hernia ไส้เลื่อนกระบังลม
อาการและอาการแสดง
ทารกส่วนใหญ่เป็นทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย หลังเกิดมีอาการหายใจลำบาหายใจ
เร็ว หอบ เขียว
การรักษา
การดูแลรักษาก่อนผ่าตัด
ดูแลสภาพทั่วไปของทารกให้พร้อม ดูแลเรื่องอุณหภูมิกายต่ำ การขาดออกซิเจน หรือร่างกายมีภาวะเป็นกรด
ร่วมถึงปัญหาเฉพาะโรคอื่นๆ
ใส่สายสวนกระเพาะอาหาร
ใส่ท่อช่วยหายใจ ให้ออกซิเจน
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ให้โซเดียมไบคาร์บอน
ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในกระแสเลือด
การผ่าตัดผ่านทางช่องท้องดึงอวัยวะในช่องท้องกลับมา เย็บซ่อมแซมกะบังลม
. การดูแลหลังการผ่าตัด ใช้เครื่องช่วยหำยใจต่อไประยะหนึ่ง เพื่อป้องกันภาวะ PFC
Omphalocele ความพิการของผนังหน้าท้องแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
บริเวณกลางท้องทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 - 10 เซนติเมตร
พยาธิกำเนิด
Omphalocele เกิดจากการหยุดยั้งการเจริญเติบโตของ Somatopleura ของส่วน lateral fold ที่จะเจริญเป็น
ผนังหน้าท้อง
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยมีการสร้างผนังหน้ำท้องไม่สมบูรณ์คือ ไม่มี
กล้ามเนื้อหน้าท้อง fascia telasubcutaneus และผิวหนัง
Gastroschisis
อาการและอาการแสดง
มักจะมีน้ำหนักตัวน้อย ลำไส้สั้น ลำไส้ผิดรูปมีการตีบหรือการตันของลำไส้
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การรักษาหลังผ่าตัด
การช่วยหายใจ
การให้สารน้ำสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การป้องกันการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด
ติดตามผลการรักษา