Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะถุงน้ำแตกก่อนกำหนด (Premature Rupture of Membrane: PROM), images,…
ภาวะถุงน้ำแตกก่อนกำหนด (Premature Rupture of Membrane: PROM)
แบ่งเป็น 2 ชนิด
ถุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่วก่อนกำหนดอายุครรภ์ 37 สัปดาห์(PPROM)
เริ่มมีการเจ็บครรภ์ เรียกว่าระยะ latent period
ใช้เวลาประมาณ 1-12 ชั่วโมง
ระยะนี้นานเกิน 24 ชั่วโมง
เรียกว่าระยะ Prolonged rupture of membranes
ถุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่วเมื่ออายุครรภ์ 37 สัปดาห์ขึ้นไป(Term PROM)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การติดเชื้อที่ถุงน้ำคร่ำ (chorioamnionitis)
การอักเสบของช่องคลอดหรือปีกมดลูก (vaginal or cervical infection)
ภาวะการอักเสบเรื้อรังของระบบทางเดินปัสสาวะ
ภาวะปากมดลูกปิดไม่สนิท (incompetent cervix)
ทารกอยู่ในท่าหรือส่วนนำที่ผิดปกติ
การตั้งครรภ์แฝด
การทำสูติศาสตร์หัตถการต่าง ๆ
เคยมีประวัติการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ เช่น เศรษฐานะต่ำ
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
เกิดการติดเชื้อ ในโพรงมดลูก (metritis)
การคลอดก่อนกำหนด (preterm labor)
ผลต่อทารกในครรภ์
ทารกเกิดการติดเชื้อ
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์เกิดภาวะขาดออกซิเจน
ทารกในครรภ์พิการหรือเกิดภาวะเจริญเติบโตช้า
ภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆprolapse cordcompression) ทำให้ทารกมีการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ
ยาวนานร่วมกับมีภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
(urinary leakage)
การตกขาวมากผิดปกติ ปากมดลูกอักเสบ
การตรวจร่างกาย
2.1 ตรวจโดยการใส่ speculum
2.2 จากการประเมินสัญญาณชีพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การทดสอบด้วยกระดาษไนตราซีน (nitrazine paper test)
การตรวจหาผลึกรูปใบเฟิร์น (fern test)
การทดสอบด้วยการหยดสี (Nile blue sulfate test)
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
4.1 การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง
เพื่อค้นหาภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
เพื่อค้นหาภาวะ PROM
4.2 การตรวจหา Alpha-fetoprotein test (AFP)
การรักษา
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน
ทดสอบความเจริญของปอดทารกในครรภ์
2.1 ตรวจ L/S ratio (Lecitin : Sphingomyelin)
2.2 การทำ Shake test (foam stability index)
ประเมินอาการแสดงที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อ
ไข้สูง อุณหภูมิมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
ชีพจรเร็ว มากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
4.การดูแลรักษาภาวะ PPROM ตามช่วงอายุครรภ์
< 24 สัปดาห์
ให้คำปรึกษาแก่สตรีตั้งครรภ์และสามี
ให้ corticosteroid เมื่ออายุครรภ์ครบ 24 สัปดาห์
24-31 สัปดาห์
ให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อยืดระยะเวลาการคลอด
รักษาประคับประคองจนกว่าการทำงานของปอดทารกจะสมบูรณ์
32-33 สัปดาห์
รักษาประคับประคอเฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด
ให้ยาปฏิชีวนะในระหว่างการคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ group B streptococcus
ให้ corticosteroid
34-36 สัปดาห์
แลเช่นเดียวกับอายุครรภ์ครบกำหนด
การรักษาแบบประคับประคอง
แนะนำให้นอนตะแคงซ้าย ซึ่งอาจจะช่วยเพิ่มการสะสมของปริมาณน้ำคร่ำ
การตรวจประเมินภาวะติดเชื้อ
การตรวจติดตามทารกในครรภ์ (fetal monitoring)
การให้ยาปฏิชีวนะ (antibiotics)
การให้ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ (corticosteroids)
Betamethasone 12 มก. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 2 ครั้ง ห่างกัน 24 ชั่วโมง
Dexamethasone 6 มก. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 4 ครั้ง ห่างกัน 12 ชั่วโมง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้นอนตะแคงซ้าย ซึ่งอาจจะช่วยเพิ่มการสะสมของปริมาณน้ำคร่ำ
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์ โดยการฟังเสียงเต้นของหัวใจทารกทุก 1 ชั่วโมง
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก
ระยะคลอด
อธิบายและแนะนำภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงแผนการรักษาที่จะได้รับ
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงและฟังเสียงเต้นของหัวใจทารกทุก 1 ชั่วโมง
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา
ระยะหลังคลอด
สังเกตลักษณะสี และกลิ่นของน้ำคาวปลา
วัดระดับยอดมดลูกทุกวัน
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง ติดต่อกันอย่างน้อย 3 วัน เพื่อประเมินการติดเชื้อ
สรุป
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด เป็นปัญหาหนึ่งทางสูติศาสตร์ โดยเฉพาะจะเกิดความเสี่ยงมากยิ่งขึ้นเมื่อครรภ์นั้นยังไม่ครบกำหนดคลอดดังนั้นการดูแลและประเมินภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ โดยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติและตรวจพิเศษต่าง ๆ จะช่วยยืนยันการวินิจฉัยได้ถูกต้องเพื่อแนวทางการดูแลรักษาและการพยาบาลที่เหมาะสม