Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคทางศัลยกรรม - Coggle Diagram
โรคทางศัลยกรรม
Acute abdominal pain
-
-
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายระบบอื่นโดยละเอียดต้องทำร่วมกันเสมอ เพื่อหารอยโรคที่อาจพบได้นอกช่องท้อง หรือโรคอื่นๆที่อาจพบร่วมกัน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
Appendicitis
สาเหตุ
สาเหตุของการเกิดไส้ติ่งอักเสบมักเกิดจากการอุดตันของไส้ติ่ง อาหารที่กินเข้าไปกลายเป็นอุจจาระแข็งตัว ทำให้แรงดันในไส้ติ่งสูงขึ้น แบคทีเรียย่อยสลายตัวเอง เกิดการอักเสบในที่สุด ซึ่งทำให้เกิดอาการ ต่อมาเมื่อไส้ติ่งอักเสบมากเข้าจนไปทำให้ผนังหน้าท้องด้านในเกิดอักเสบตามมาหรือไส้ติ่งแตก ทำให้สามารถบอกได้ว่าปวดมากตรงบริเวณใด
อาการและอาการแสดง
-
- เกิดอาการปวดท้องอย่างเฉียบพลัน ...
- มีไข้ต่ำ ๆ และหนาวสั่น ...
- คลื่นไส้ อาเจียน และเบื่ออาหาร ...
-
- ท้องอืด และมีแก๊สในกระเพาะอาหาร
การรักษา
2.1 ในรายที่ลักษณะทางคลินิกบ่งชี้ว่าน่าจะเป็นโรคไส้ติ่งอักเสบ แนะนำให้การรักษาด้วยการ ผ่าตัดโดยด่วน หลังจากการเตรียมผู้ป่วยให้พร้อมและเหมาะสมต่อการให้ยาสลบและการผ่าตัด
2.2 ในรายที่ลักษณะทางคลินิกไม่ชัดเจนว่าจะเป็นโรคไส้ติ่งอักเสบ แต่มีสิ่งที่ทำให้สงสัยว่าอาจจะเป็นโรคนี้ ควรรับตัวไว้สังเกตอาการในโรงพยาบาล เพื่อติดตามประเมินลักษณะทางคลินิกต่อเป็นระยะๆ โดยงดน้ำและอาหาร และไม่ให้ยาปฎิชีวนะ เมื่อลักษณะทางคลินิกบ่งชี้ชัดเจนขึ้นว่าน่าจะเป็นไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน จะได้นำผู้ป่วยไปทำการผ่าตัดรักษาอย่างทันท่วงที
2.3 ในรายที่ลักษณะทางคลินิกบ่งชัดว่าเป็นไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน ไม่แตกทะลุ ไม่จำเป็นต้องให้ยาปฏิชีวนะทั้งก่อนและหลังผ่าตัด แต่แพทย์ผู้ดูแลอาจพิจารณาให้ยาปฏิชีวนะก่อนผ่าตัดก็ได้ เมื่อผ่าตัดพบว่าไส้ติ่งอักเสบไม่แตกทะลุ ก็ไม่จำเป็นต้องให้ยาต่อ
2.4 ในรายที่ลักษณะทางคลินิกไม่สามารถแยกได้ว่าไส้ติ่งแตกทะลุชัดเจน นิยมให้ยาปฏิชีวนะ โดยเริ่มตั้งแต่ก่อนผ่าตัด ถ้าผ่าตัดแล้วพบว่าไส้ติ่งไม่แตกทะลุ ไม่จำเป็นต้องให้ยาปฏิชีวนะต่อหลังผ่าตัด แต่ถ้าพบว่าไส้ติ่งแตกทะลุก็ให้ยาปฏิชีวนะต่อ
2.5 ในรายที่การตรวจร่างกายบ่งชี้ว่ามี peritonitis ซึ่งเกิดจากการแตกของไส้ติ่งอักเสบ ในเด็กมักมีลักษณะ generalized peritonitis ส่วนผู้ใหญ่จะเป็น pelvic peritonitis ก่อนนำผู้ป่วยไปทำการผ่าตัดควรใช้วิธีรักษาแบบประคับประคองให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการให้ยาสลบและการผ่าตัด เช่นการให้ intravenous fluid ที่เหมาะสมให้เพียงพอซึ่งอาจใช้เวลาหลายชั่วโมง ดูว่าผู้ป่วยมีปัสสาวะออกดีแล้ว ให้ยาปฎิชีวนะที่เหมาะสม ให้ยาลดไข้หรือเช็ดตัวให้อุณหภูมิร่างกายลดลงถ้ามีไข้สูง ถ้าท้องอืดมากควรใส่ nasogastric tube ต่อ suction อาจใช้เวลาในการเตรียมผู้ป่วย 3-4 ชั่วโมงก่อนนำผู้ป่วยไปผ่าตัด
2.6 กรณีที่ไส้ติ่งแตกทะลุระหว่างการผ่าตัด หรือไส้ติ่งไม่แตกทะลุ แต่รุนแรงถึงขั้น gangrenous appendicitis แนะนำให้ยาปฏิชีวนะระหว่างการผ่าตัด และต่อเนื่อง 1-3 วันแล้วแต่พยาธิสภาพ
2.7 ในรายที่มีอาการมาหลายวันและการตรวจร่างกายพบว่ามีก้อนที่ RLQ ที่บ่งชี้ว่าน่าจะเป็น appendiceal phlegmon หรือ abscess ควรจะรักษาโดยวิธีประคับประคองโดยให้ยาปฎิชีวนะที่ออกฤทธิ์ครอบคลุมกว้างขวาง ถ้าผู้ป่วยตอบสนองดีต่อการรักษา เช่น อาการปวดท้องดีขึ้น ก้อนเล็กลง ให้รักษาต่อโดยวิธีประคับประคอง และนำผู้ป่วยไปทำ elective appendectomy หลังจากนั้น 6 สัปดาห์ - 3 เดือน แต่ถ้าการรักษาด้วยยาปฎิชีวนะดังกล่าวไม่ได้รับการตอบสนองที่ดีอาจจำเป็นต้องผ่าตัดเลย ถ้าพยาธิสภาพรุนแรงมาก อาจทำเพียงระบายหนอง แต่ถ้าพยาธิสภาพไม่รุนแรง และสามารถตัดไส้ติ่งออกได้เลย ก็แนะนำให้ทำ
Cholecystitis
สาเหตุ
โรคถุงน้ำดีอักเสบ (cholecystitis) เป็นโรคที่เกิดจากการอักเสบของถุงน้ำดีซึ่งเมื่อเกิดขึ้นทันที และมีอาการรุนแรงแต่รักษาหายได้ภายใน 1-2 สัปดาห์ การอักเสบของถุงน้ำดีมักเกิดจาก 2 สาเหตุ คือ จาก นิ่วในถุงน้ำดีและไม่ใช่จากนิ่วในถุงน้ำดี ซึ่งทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องและกดเจ็บบริเวณชายโครงขวา
-
อาการและอาการแสดง
จะมาด้วยอาการปวดท้องรุนแรง จุกเสียดแน่นท้องบริเวณลิ้นปี่หรือใต้ชายโครงขวา โดยเฉพาะเวลาหายใจเข้าลึก ๆ จะปวดมาก หากเป็นมากในบางรายอาจมีภาวะดีซ่าน ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะเหลืองเข้ม อุจจาระสีซีด เนื่องจากน้ำดีไหลลงลำไส้ไม่ได้จนย้อนเข้ากระแสเลือด
Peptic ulcer
การรักษา
หลักการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหาร ประกอบด้วย การสืบค้นและแก้ไขต้นเหตุที่ก่อให้เกิดแผล (เช่น ตรวจหา และให้ยาปฏิชีวนะแก่ผู้ที่ติดเชื้อ H. pylori หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม NSAIDs เป็นต้น) บรรเทาอาการปวดท้องและให้ยารักษาแผลโดย รับประทานอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาประมาณ 8-12 สัปดาห์เพื่อ สมานแผลจนแผลหายดี
สาเหตุ
แผลในกระเพาะอาหาร (Peptic Ulcer) คือ แผลที่เกิดขึ้นบริเวณเยื่อบุของกระเพาะอาหาร หลอดอาหาร และลำไส้เล็กส่วนต้น อาการที่พบได้บ่อยคือปวดท้อง มักมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อแบคทีเรียเอชไพโลไร หรือการใช้ยาแก้ปวดต้านการอักเสบในกลุ่มเอ็นเสดเป็นเวลานาน เช่น แอสไพริน ไอบูโปรเฟน เป็นต้น การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ หรือการรับประทานอาหาร
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องบริเวณเหนือสะดือ ลิ้นปี่หรือยอดอก เป็น ๆ หาย ๆ (epigastric pain) • รู้สึกไม่สบายท้องส่วนบน เช่น ท้องอืด ท้องเฟ้อ รู้สึกมีลมในท้องมาก รับประทานแล้วไม่สบายท้อง คลื่นไส้อาเจียน อาการที่แสดงออกถึงภาวะแทรกซ้อนอันเกิดจากแผลในกระเพาะอาหาร
Peritonitis
สาเหตุ
เยื่อบุช่องท้องอักเสบที่เกิดขึ้นเอง ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อของของเหลวที่สะสมอยู่ในช่องท้อง ซึ่งของเหลวนี้จะมีมากในโรคตับระยะท้ายหรือในโรคไต และยังทำให้เกิดการอักเสบ ติดเชื้อ หรือเป็นอันตรายต่อลำไส้ได้ด้วย
-
-
GI Hemorrhage
สาเหตุ
-
-
-
-
เป็นสาเหตุหลักของ GI Bleeding โดยแผลที่เกิดขึ้นบริเวณเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้นมักมีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียเอชไพโลไร (H. Pylori) กรดในกระเพาะอาหาร หรือการใช้ยาแก้อักเสบในกลุ่มเอ็นเสด
-
เยื่อบุหลอดอาหารที่ฉีดขาดอาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีเลือดออกในปริมาณมาก โดยมักพบได้ในผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป
-
ส่วนใหญ่จะพบได้ในผู้ป่วยโรคตับที่รุนแรง โดยเส้นเลือดขอดในหลอดอาหารอาจส่งผลให้มีเลือดออกในทางเดินอาหารได้เช่นกัน
-
มักเป็นผลมาจากภาวะกรดไหลย้อนซึ่งเป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหูรูดบริเวณส่วนปลายของหลอดอาหารทำงานผิดปกติ กรดในกระเพาะอาหารจึงไหลย้อนขึ้นมาทำลายหลอดอาหาร อาจทำให้เกิดแผลและเลือดออกในบริเวณดังกล่าว
การรักษา
GI Bleeding มีวิธีการรักษาแตกต่างกันไปตามสาเหตุ ผู้ป่วยบางรายอาจได้รับการรักษาในระหว่างการตรวจด้วยการส่องกล้องประเภทต่าง ๆ ไปพร้อมกัน โดยแพทย์อาจฉีดยา ใช้กระแสไฟฟ้าและเลเซอร์จี้ หรือใช้คลิปหนีบหลอดเลือดเพื่อให้เลือดหยุดไหล
GI Bleeding มักหายไปได้เองหลังจากรักษาแบบประคับประคอง ซึ่งการรักษาจะมีวิธีแตกต่างกันไปตามตำแหน่งที่มีเลือดออก เช่น หากมีเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน ผู้ป่วยอาจต้องได้รับการฉีดยาในกลุ่ม Proton pump inhibitors: PPIs เข้าเส้นเลือด เพื่อยับยั้งการผลิตกรดในกระเพาะอาหาร
นอกจากนี้ แพทย์อาจพิจารณาให้เลือดหรือน้ำเกลือเข้าสู่ร่างกายผู้ป่วย เพื่อทดแทนเลือดที่เสียไป หากผู้ป่วยกำลังใช้ยาต้านเกร็ดเลือดหรือยาต้านการแข็งตัวของเลือดจะต้องหยุดใช้ยาดังกล่าวตามคำแนะนำของแพทย์ด้วย เช่น ยาวาฟาริน ยาแอสไพรินหรือยาแก้อักเสบในกลุ่มเอ็นเสด
อาการและอาการแสดง
-
สัญญาณและภาวะของ GI Bleeding ขึ้นอยู่กับว่าผู้ป่วยมีเลือดไหลออกจากบริเวณใดของทางเดินอาหาร ซึ่งสามารถพบได้ตั้งแต่ทางเดินอาหารส่วนต้นอย่างหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กส่วนต้น รวมถึงทางเดินอาหารส่วนปลายอย่างลำไส้ใหญ่ ลำไส้ตรง และทวารหนัก โดยอาการที่อาจพบได้ เช่น อุจจาระเป็นสีดำ อุจจาระมีเลือดสีแดงสดปนอยู่ อาเจียนออกมาเป็นสีแดงหรือสีดำคล้ายกากกาแฟ ปวดท้อง เป็นต้น หากมีเลือดออกปริมาณมากจะมีอาการเวียนศีรษะ อ่อนแรง และซีดร่วมด้วย ซึ่งควรไปพบแพทย์เพื่อรับการรักษาโดยเร็ว
นอกจากนี้ หากผู้ป่วยมีภาวะ GI Bleeding ที่เลือดออกเป็นปริมาณมากอย่างเฉียบพลัน อาจส่งผลให้ความดันโลหิตลดต่ำลง ไม่ปัสสาวะเลยหรือปัสสาวะในปริมาณเพียงเล็กน้อย ชีพจรเต้นเร็ว และหมดสติ จนนำไปสู่ภาวะช็อก ควรรีบนำผู้ป่วยไปส่งโรงพยาบาลโดยเร่งด่วน
Head injury
สาเหตุ
การบาดเจ็บที่เกิดจากแรงที่เข้ามากระทบต่อศีรษะและร่างกาย แล้วก่อให้เกิดความบาดเจ็บต่อหนังศีรษะกะโหลกศีรษะ และ สมอง กับเส้นประสาทสมอง
-
- การบาดเจ็บต่อหนังศีรษะ เช่น หนังศีรษะฉีกขาด หัวโน
- การบาดเจ็บต่อกะโหลกศีรษะ เช่น กะโหลกร้าว กะโหลกแตกยุบ
- การบาดเจ็บต่อสมอง ได้แก่ เลือดออกเหนือเยื่อหุ้มสมอง เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมอง สมองช้ำ สมองบวม เลือดออกในสม
-
การรักษา
การดูแลระบบทางเดินหายใจ (Airway and respiratory support) ผู้ป่วยที่มี GCS < 8 ทุกรายต้องได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ และช่วยหายใจ (intubated and assisted ventilation)
การดูแลระบบไหลเวียนโลหิต แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำ (hypotension- systolic blood pressure < 90 mmHg) ต้องหลีกเลี่ยงภาวะ Hypoxia และ Hypercarbia และแก้ไขภาวะดังกล่าวถ้าเกิดขึ้นอย่างทันที
ภาวะบาดเจ็บร่วมอื่น ๆ ที่อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิต เช่น tension pneumothorax, cardiac temponade, hypovolemic shock ต้องพยายามวินิจฉัยให้ได้ และให้การรักษาอย่างทันท่วงที
การตรวจประเมินทางประสาทวิทยา (neurological evaluation) โดยเฉพาะการตรวจว่ามีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงซึ่งต้องรีบหาสาเหตุและแก้ไข
ในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวทุกราย ต้องทำ neck immobilization ไว้จนกว่าจะตรวจสอบดูแล้วว่าไม่มีภาวะบาดเจ็บต่อกระดูกสันหลังส่วนคอ เพราะอาจเกิดอันตรายถึงแก่อัมพาตหรือเสียชีวิตได้ ถ้าไม่ระมัดระวัง
Spinal injury
สาเหตุ
-
พยาธิสภาพการบาดเจ็บของกระดูก ได้แก่ กระดูกหักลักษณะต่างๆ เช่น กระดูกหักตำแหน่งเดียว กระดูกแตกยุบ หรือแตกกระจาย รวมถึงกระดูกไม่หักแต่เคลื่อนหรือหลุดออกจากตำแหน่งเดิม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกลไกและความรุนแรงของการบาดเจ็บ
พยาธิสภาพของการบาดเจ็บไขสันหลังนั้นเกิดภายใน 5 นาทีหลังบาดเจ็บโดยจะมีการเปลี่ยนแปลงตรงกลางของพื้นที่สีเทาให้หลั่ง catecholamine ออกมาจากเซลล์ประสาท ทำให้มีเลือดออกมากขึ้น และขยายบริเวณกว้างขึ้นเรื่อยๆ ภายใน 2 ชั่วโมง ส่วนบริเวณพื้นที่สีขาวจะมีการบวม เกิดการขาดเลือดและออกซิเจน ภายใน 4 ชั่วโมงเซลล์ที่อยู่รอบๆ บริเวณที่ได้รับบาดเจ็บจะมีเลือดไปเลี้ยงลดลง ขณะเดียวกันจะมีการหลั่งสารสื่อประสาทออกมาจากเซลล์ ทำให้เซลล์ไขสันหลังถูกทำลายมากขึ้น ในภาพตัดขวางของไขสันหลังร้อยละ 40 ถูกทำลายภายใน 4 ชั่วโมงหลังได้รับบาดเจ็บ และภายใน 24 ชั่วโมงหลังได้รับบาดเจ็บไขสันหลัง จะถูกทำลายไปประมาณร้อยละ 70 โดยไขสันหลังส่วนที่ถูกทำลายนี้เป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยมีความพิการเกิดขึ้น
อาการและอาการแสดง
มีอาการแขนขาอ่อนแรง ชา ความรู้สึกลดลงหรือหายไป โดยจะสูญเสียการทำงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวที่ควบคุมได้ การรับความรู้สึกเกี่ยวกับความปวด แรงกด อุณหภูมิ รวมถึงการขับถ่ายอีกด้วย
การรักษา
Breathing หลังจากอุบัติเหตุประเมินลักษณะการหายใจ oxygen saturation, force vital capacity ทุกราย เป็นต้น
Circulation การให้สารน้ำเริ่มต้นเป็น 0.9% NSS ในผู้ป่วยที่มีภาวะ shock ให้พิจารณาการให้ยา Vasopressin เพื่อให้ค่า mean arterial pressure (MAP ≥ 85 mmHg) เนื่องจากสามารถเพิ่มการได้รับเลือดไปเลี้ยงไขสันหลังได้อย่างเพียงพออย่างน้อย 7 วันแรก (Wuermser, et al., 2007) และไม่ควร load ในผู้ป่วยที่มีภาวะ spinal shock เนื่องจากจะทำให้เกิดภาวะ pulmonary edema ได้
3.1 High-dose Methyprednisolone นับตั้งแต่มีการศึกษาของ National Acute Spinal Cord Injury Study (NASCIS) ในปี ค.ศ. 1997 ในเรื่องของการให้ยา Methylprednisolone sodium succinate เป็น neuroprotective ในการป้องกัน secondary cord injury นั้น Matthew Spensor ได้ทำการศึกษาวิเคราะห์ พบว่า Methylprednisolone สามารถ improved neurologic outcome (motor, pinprick, touch) ได้ เนื่องจากเชื่อว่ายานี้จะช่วยป้องกันไม่ให้เซลล์ไขสันหลังถูกทำลายมากขึ้น นอกจากนี้ยังเพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงไขสันหลัง ลดการอักเสบและยับยั้งอนุมูลอิสระ ทำให้ไขสันหลังที่บาดเจ็บฟื้นตัวได้ แต่ไม่สามารถลดอัตราการตายหรือทำให้ระบบประสาทกลับคืนมาอย่างสมบูรณ์ได้ และมีการศึกษาอย่างเป็นระบบพบว่าการให้ยา methylprednisolone high doseนั้น เพิ่มอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนให้มากขึ้น อันได้แก่ การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (UTI) ภาวะปอดอักเสบ (pneumonia) ภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร (GI hemorrhage) และน้ำตาลในเลือดสูง (hyperglycemia) เป็นต้น (Bracken, 2008) การศึกษานี้พบว่ากลุ่มที่ผลการรักษาดี คือ ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บชนิดที่ไม่มีบาดแผลทะลุทะลวงเท่านั้น การทดลองไม่ได้ผลในผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลังจากการถูกยิงหรือถูกแทงแม้ว่าจะมาภายใน 8 ชั่วโมงหลังบาดเจ็บก็ตาม
Gall stone
สาเหตุ
นิ่วในถุงน้ำดี (Gall Stone) เป็นโรคในระบบทางเดินน้ำดีที่พบได้บ่อยที่สุด เกิดจากการตกตะกอนของหินปูนหรือคอเลสเตอรอลในน้ำดี ทำให้เกิดนิ่ว โดยลักษณะนิ่วมี 3 ประเภท ได้แก่ นิ่วจากคอเลสเตอรอล (Cholesterol Stones) อาจเป็นสีเหลือง ขาว เขียวเกิดจากการตกตะกอนไขมัน เนื่องจากคอเลสเตอรอลเพิ่มมากขึ้นในถุงน้ำดี
อาการและอาการแสดง
ในกลุ่มที่มีอาการ มักมีแน่นอืดท้อง อาหารไม่ย่อย มีลมมากหรือมีอาการปวดท้องเป็นพัก ๆ ( colic ) ที่บริเวณลิ้นปี่ หรือใต้ชายโครงขวา ร่วมกับคลื่นไส้หรืออาเจียน ซึ่งมักเป็นหลังรับประทานอาหารมันๆ อาจเป็นอยู่หลายชั่วโมงแล้วหายไป เมื่อเกิดการอักเสบของถุงน้ำดี อาการที่บ่งชัดเจน คือ อาการปวดท้องจะมากขึ้น ปวดบริเวณยอดอก
การรักษา
ผู้ที่ตรวจพบนิ่วในถุงน้ำดีที่ไม่มีอาการ ไม่มีข้อบ่งชี้ว่าจะต้องผ่าตัด เพียงแต่ให้คำแนะนำถึงข้อแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น โดยยังไม่ต้องให้การรักษาใด ๆ ยกเว้นในกรณีผู้ป่วยบางกลุ่ม เช่น ผู้ป่วยที่มีโรคเบาหวาน โรคไตวายเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ซึ่งในกรณีเช่นนั้น หากมีการอักเสบถุงน้ำดีเกิดขึ้น และต้องผ่าตัด