Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดา 22 ปี G1P0 Primigavidarum GA7+4 LMP30/07/63 EDC 7/05/64 - Coggle…
มารดา 22 ปี G1P0 Primigavidarum GA7+4 LMP30/07/63 EDC 7/05/64
การฝากครรภ์
ฝากครรภ์ครั้งแรก 22/09/63 GA7+4
การตรวจร่างกาย
ต่อมไทรอยด์ไม่โต
เต้านมปกติ
เยื่อบุตาไม่ซีด
ข้อเท้าและเท้าไม่บวม
ผิวหนังยืดหยุ่นดี
น้ำหนัก 56.7 kg. ส่วนสูง 164 cm
ยังคลำยอดมดลูกไม่พบ/ฟังFSHไม่ได้
BP 126/73 P 98
LAB
blood
Anemia
Hb 12.5
DCIP (Negative)
Hct 36.3
OF (Negative)
MCV 87.6
STD
Anti-HIV( Nonreactive)
HBsAg (Negative)
VDRL (Nonreactive)
urine
Albumin ปกติ
Sugar ปกคิ
การซักประวัติ
ประวัติครอบครัว : ย่าของผู้รับบริการมีโรคประจำตัวเป็นเบาหวานความดัน
ก่อนตั้งครรภ์ได้วัคซีน dT ครบ3เข็มแล้ว ในปี 2562
มีอาชีพก่อสร้าง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากการทำงานก่อสร้าง
มารดาไม่มีโรคประจำตัว
มีประจำเดือนอายุ 13 ปี มาสม่ำเสมอทุก 28 วัน ครั้งละประมาณ 4 วัน คุมกำเนิดโดยการรับประทานยาคุม เป็นระยะเวลา 2 ปี หยุดคุมกำเนิด 4 เดือน
G1P0
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลพร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย
ปัสสาวบ่อยประมาณวันละ 5-6ครั้ง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเสี่ยงต่อการนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากปัสสาวะบ่อย
คลื่นไส้อาเจียนในช่วงเช้าวันละ 5-6 ครั้งรับประทานอาหารไม่ค่อยได้รู้สึกรับประทานอาหารไม่อร่อย
ไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์เนื่องจากมีการคลื่นไส้อาเจียน
การรักษา
Folic acid oral pc = 30 tab
แนะนำรับประทานอาหารบำรุงครรภ์
ฝากครรภ์ครั้งที่สอง 30/09/63 GA8+4
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก 57.1 kg.
BP 110/69 P 92
เยื่อบุตาไม่ซีด
ยังคลำยอดมดลูกไม่พบ/ฟังFSHไม่ได้
เต้านมปกติ
ข้อเท้าและเท้าไม่บวม
การรักษา
ยาเดิม
นัด29/10/63
ไตรมาส 1
อาการไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์
ความเหนื่อยล้า (Fatigue)
นอนหลับกลางวันช่วงเวลาสั้นๆ หลีกเลี่ยงความเครียด ใช้เทคนิคผ่อนคลายทำกิจกรรมที่ชอบ นอนตะแคงซ้าย นั่งพัก ยกเท้าสูงช่วงกลางวัน
การเผาผลาญพลังงานในร่างกายสูงขึ้น ร่วมกับการคลื่นไส้อาเจียน และอาการปัสสาวะบ่อยในช่วงกลางคืน
คลื่นไส้อาเจียน (Nausea and vomiting)
พบช่วง 4-5 สัปดาห์ หายเมื่อ 14-16 สัปดาห์
HCG และ Progesterone อารมณ์ การเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตผิดปกติ เหนื่อยล้า
ดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว งดเคลื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและน้ำอัดลม ทานอาหารโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต ทุก 2 ชม แบ่งอาหารเป็นมื้อเล็กๆ5-6มื้อ หลีกเลี่ยงอาหารกลิ่นฉุน แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร 1 ชม
ปัสสาวะบ่อย (Frequent urination)
มดลูกกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มคาเฟอีน ไม่กลั้นปัสสาวะ ดื่มน้ำน้อยช่วงก่อนนอน Kegal exercise
เต้านมคัดตึง (Breadt tenderness)
เริ่มตั้งแต่ 6 wks แรกแล้วจะดีขึ้น เกิดจาก EStrogen และ Progesterone สูง ใหญ่ขึ้น ตึงแข็ง มองเห็นเส้นเลือดเขียวๆ
สวมใส่บราให้พอดีกับเต้านม อาบน้ำอุ่น ไม่ฟอกสบู่ตรงเต้านม
ภาวะหลังน้ำลายมาก (Ptyalism)
2-3 wks สตรีตั้งครรภ์ไม่สามารถกลืนน้ำลายได้เนื่องจากคลื่นไส้อาเจียน
บ้วนปากด้วยน้ำสะอาดบ่อยๆ แนะนำเคี้ยวหมากฝรั่งลูกอม
หน้ามืดเป็นลม (Faintness)
2-3 wks ความดันต้ำจากการเปลี่ยนอิริยาบท (Postural hypotension) ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ (Low blood sugar level)
เปลี่ยนท่าช้าๆ กิาอาหารคาร์โบไฮเดรตบ่อยครั้งต่อวัน นอนราบ ยกเท้าสูง เมื่อหน้ามืด
พัฒนาการทารกในครรภ์
1-2 สัปดาห์
เซลล์แบ่งตัวแล้วเคลื่อนที่เข้าข้างในเห็นตัวอ่อนเป็นรูปถ้วย ซึ่งดูคล้ายมีผนัง 2 ชั้น
เริ่มจากไซโกตแบ่งตัวจาก 1 – 2 – 4 - 8 ... จนกระทั้งเซลล์มาเกาะกันเป็นก้อนกลมๆเรียกก้อนกลมๆนี้ว่า โมรูลา (MORULA)
ตัวอ่อนในระยะที่มีการเคลื่อนที่ของเซลล์ลักษณะของตัวอ่อนคล้ายผลน้อยหน่า
ขบวนการที่เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ ชั้นนอก ชั้นกลาง ชั้นใน เปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างต่างๆของร่างกาย เนื้อเยื่อ 3 ชั้น
4 สัปดาห์
ตัวอ่อนยาว 4 มม เป็นรูปตัว c เห็นหัวใจและเยื่อหุ้ม เช่น ท่อประสาท (Neural tube) กล้ามเนื้อ กระดูกสันหลัง สายสะดือ และเยื่อบุอวัยวะภายในต่างๆ
5 สัปดาห์
หลอดเลือดสำหรับหล่อเลี้ยงหัวใจจะปรากฏขึ้นและการเติบโตของหัวใจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว แบ่งเป็นห้องต่าง ๆ มีการเจริญของเส้นประสาทสมอง
6 สัปดาห์
เริ่มมองเห็นส่วนต่างๆ แยกกันชัดเจน เช่น หู ตา นิ้วมือ นิ้วเท้า ลำตัวเริ่มยืดออก เริ่มมีการสร้างกล้ามเนื้อต่างๆ และเริ่มมีการสร้างกระดูกของกะโหลกศีรษะและขากรรไกร หัวใจจะมีการแบ่งห้องเรียบร้อยแล้ว และมีการสร้างช่องปาก ช่องจมูก และริมฝีปาก
9 สัปดาห์
เด็กผู้หญิงจะพัฒนาอวัยวะเพศขึ้นมาเป็นลักษณะของแคมเล็ก ส่วนในเด็กผู้ชายจะถูกพัฒนาอวัยวะเพศให้มีลักษณะเป็นลูกอัณฑะ
8 สัปดาห์
ใบหน้าจะมีลักษณะชัดเจนมากขึ้น มีส่วนของตา หู จมูก แขน และขา ชัดเจน นิ้วมือและนิ้วเท้าแยกออกจากกันได้ เริ่มมีการสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก แต่ยังแยกเพศไม่ได้
10 สัปดาห์
ลำไส้กลับเข้าไปอยู่ในช่องท้อง
7 สัปดาห์
เริ่มมองเห็นลูกตาเด่นชัดขึ้น และมีการเจริญของเบ้าตา ลิ้น และเพดานปากเจริญเกือบสมบูรณ์ ทั้งทางเดินอาหารและลำไส้
11 สัปดาห์
กระดูกแข็งแรงมากขึ้นตอบสนองต่อสิ่งที่มากระตุ้น สามารถเคลื่อนไหว ขา เท้า หัวแม่มือ
12 สัปดาห์
เริ่มแยกเพศได้และเห็นได้ชัดเจน
3 สัปดาห์
Embryo ตัวอ่อน
เนื้อเยื่อชั้นนอก (Ectoderm)
อวัยวะห่อหุ้มร่างกาย :- ผิวหนัง ขน ระบบประสาท /ต่อมใต้สมองส่วนหน้า และส่วนกลาง สมองส่วนท้าย
เนื้อเยื่อชั้นกลาง (Mesoderm)
ระบบโครงกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ /ระบบหมุนเวียนโลหิต /ระบบขับถ่าย/ระบบสืบพันธุ์
เนื้อเยื่อชั้นใน (Endoderm)
ระบบทางเดินอาหาร/ ระบบหายใจ หูส่วนกลาง ต่อมไทรอยด์ กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ
การเปลี่ยนแปลงตามทฤษฏี
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
ระบบอวัยวะสืบพันธุ์
ช่องคลอด
ขยายใหญ่ขึ้น ทำให้มีโลหิตมาเลี้ยงอุ้งเชิงกรานมากขึ้น ผนังช่องคลอดอ่อนนุ่มลงคลอด มีการขับสารคัดหลั่งของช่องคลอดและมดลูกเพิ่มขึ้น
ปากมดลูก
นุ่มและเปลี่ยนเป็นสีคล้ำ มีขยายขนาด และเพิ่มจำนวนเซลล์มากขึ้น ผลิตมูกเหนียวจำนวนมากทำหน้าที่อุดกั้นไม่ให้โพรงมดลูกติดต่อกับภายนอก
มดลูก
การเปลี่ยนแปลงทั้งขนาด รูปร่าง น้ำหนัก และความจุฮอร์โมน Estrogen และ Progesterone มดลูกจะมีความจุเพิ่มมากขึ้น กล้ามเนื้อผนังมดลูกมีความหนาและแข็งแรงมากขึ้นโดยเฉพาะในระยะ 2-3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
ระยะไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ กล้ามเนื้อมดลูกจะมีการหดตัวเป็นครั้งคราวไม่สม่ำเสมอ ไม่เจ็บไตรมาสที่สองการหดรัดตัวนี้จะเกิดขึ้นนาน ๆ ครั้ง
รังไข่และท่อนำไข่
ระหว่างตั้งครรภ์จะไม่เกิดการตกไข่
เอ็นข้อต่อของกระดูกและอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
เอ็นยึดและข้อต่อต่าง ๆ จะยืดขยายและนุ่มขึ้นกว่าเดิม
กรณีศึกษายังคลำยอดมดลูกไม่พบ
ระบบผิวหนัง
Striae gravidarum เป็นเส้นกดลงไปในผิวหนัง สีค่อนข้างแดงพบเดือนท้ายๆของการตั้งครรภ์ เป็นที่บริเวณเต้านม ก้นและต้นขา
Diastasis Recti เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อ rectus หน้าท้องแยก
Pigmentationถ้าเป็นที่หน้าท้องแนวกลางลำตัวเรียกว่า linea nigra ถ้าเป็นที่บริเวณใบหน้าเรียกว่า melasma
ระบบหัวใจและหลอดโลหิต
ความดันโลหิต
ลดลงเล็กน้อย ค่าความดัน Systolic จะลดลงประมาณ2 – 3 mmHg และค่าความดัน Diastolic ลดลงประมาณ 5 – 10 mmHg
ปริมาตรของโลหิต
การตั้งครรภ์ปริมาตรโลหิตเพิ่มขึ้นประมาณ30 – 40% หรือประมาณ 1,500 ml จำนวนเม็ดโลหิตแดงจะเพิ่มขึ้นช้า ๆ
หัวใจ และเสียงหัวใจ
หัวใจเปลี่ยนไปเนื่องจากมดลูกเพิ่มขนาดจึงดันกระบังลมให้ยกขึ้น ทำให้หัวใจถูกดันไปด้านซ้ายและสูงกว่าปกติ
เม็ดโลหิตแดง
การตั้งครรภ์ค่า Hb และ Hct จะลดลง อาจทำให้หญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะโลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็กได้
เม็ดโลหิตขาว
การตั้งครรภ์จะมีการผลิตเม็ดโลหิตขาว(Leukocyte) เพิ่มขึ้นจาก 5,000-12,000 เซลล์/มิลลิลิตร
กรณีศึกษามีค่าความดันโลหิตในแต่ละครั้งอยู่ที่ความดันโลหิต 126/73 mmHg (22/09/63)
ความดันโลหิต 110/92 mmHg (30/09/63)
จากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ กรณีพบ(22/09/63) Hb 12.5 g/dL ,Hct 36.3 %
Hct 36.3 %,MCV 87.6 fL, WBC 9,290 cell
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
หญิงตั้งครรภ์จะเดินหลังแอ่นมากขึ้น
ตามอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากมดลูกโต
ระบบทางเดินหายใจ
การทำงานเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้ได้ปริมาณออกซิเจนเพียงพอกับความต้องการทั้งของมารดาและทารกในครรภ์
ระบบทางเดินอาหาร
ปากและช่องปาก
อาจมีโลหิตออกได้ง่ายเวลาแปรงฟัน ทำให้เกิดอาการเหงือกบวม (gingivitis) ฮอร์โมนเอสโตรเจนจะทำให้ต่อมน้ำลายจะผลิตน้ำลายออกมาก
หลอดอาหาร
กระเพาะอาหารและลำไส้ มีอาการเรอเปรี้ยวและแสบร้อนในอก และในลำคอ เนื่องจากกระเพาะอาหารถูกเบียดเปลี่ยนตำแหน่งทำให้กรดไหลย้อน
ตับ
ไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์ตำแหน่งของตับจะเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากมดลูกที่ใหญ่ขึ้นไปเบียดตับให้สูงขึ้น
ถุงน้ำดี
ขณะตั้งครรภ์ ถุงน้ำดีจะโป่งพองขึ้น มีความตึงตัวลดลง เนื่องจากอิทธิพล ของโปรเจสเตอโรน ทำให้น้ำดีไหลช้า
ลำไส้ใหญ่
การเคลื่อนไหวของลำไส้ใหญ่ช้าลง ทำให้น้ำถูกดูดซึมกลับมากขึ้น อุจจาระจึงมีลักษณะแข็ง
กรณีศึกษา รับประทานอาหารวันละ 1-2 มื้อ มื้อละ 2 ทัพพี รับประทาน เนื้อสัตว์ นม ไข่ ดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้วต่อวัน ชอบรับประทานผลไม้
ระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมพาราธัยรอยด์
สัปดาห์ที่ 15-35 ของการตั้งครรภ์ และกลับสู่ภาวะปกติ ต่อมพาราธัยรอยด์จะโตขึ้นเล็กน้อย
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
– ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
หลั่งฮอร์โมน prolactin เพื่อช่วยให้มีการพัฒนาการของเต้านม
– ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
หลั่งฮอร์โมน oxytocin กระตุ้นการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
ต่อมธัยรอยด์
กระตุ้นให้ต่อมธัยรอยด์โตขึ้นเล็กน้อยในระยะแรกของการตั้งครรภ์
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต
ไตรมาสที่ 2 ขณะที่ estrogen ทำให้ระดับ cortisol ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตและไขมัน
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ไต
ขนาดของไตจะโตขึ้นเล็กน้อย หน้าที่ของไตเริ่มเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ มีโลหิตไหลผ่านไต (renal plama) เพิ่มมากขึ้นประมาณ 25 -30%
กระเพาะปัสสาวะ
จะหนาและมีความจุมากขึ้นประมาณ 1,500 ซีซี
กล้ามเนื้อเรียบของกระเพาะปัสสาวะลดความตึงตัวลง ทำให้ปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะมากขึ้น
กรณีศึกษา ปัสสาวะบ่อยประมาณวันละ 5-6 ครั้ง ในตอนกลางวันปัสสาวะประมาณ 4 ครั้ง ส่วนกลางคืน ประมาณ 2 ครั้ง ปัสสาวะมีสีเหลืองใส่ ไม่มีอาการแสบขัด
การเพิ่มของน้ำหนักในระยะตั้งครรภ์
ตลอดระยะตั้งครรภ์น้ำหนักเพิ่มขึ้นทั้งหมดประมาณ 11-12 กิโลกรัม โดยน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นเป็นน้ำหนักทารก รก น้ำคร่ำ มดลูก เต้านม เลือดและปริมาณน้ำที่ไหลเวียนในร่างกาย
กรณีศึกษามีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตามลำดับ
22 กันยายน 2563 น้ำหนัก 56.7 กิโลกรัม
30 กันยายน 2563 น้ำหนัก 57.1 กิโลกรัม
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมของสตรีมีครรภ์
การยอมรับการตั้งครรภ์
มีความชัดเจนของอาการและอาการแสดงของการตั้งครรภ์มากขึ้น
รักและใส่ใจตนเอง
เรียนรู้บทบาทมารดา และการทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์
การรับรู้ภาพลักษณ์
สตรีมีครรภ์บางรายพึงพอใจ ภูมิใจต่อภาพลักษณ์ของตนเพราะคิดว่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งบ่งบอกว่าทารกเจริญเติบโต
ความสนใจและ
ความต้องการทางเพศ
สตรีมีครรภ์ส่วนใหญ่ไม่รู้สึกถึงความเปลี่ยนแปลง
แต่บางรายรู้สึกมีความสุขในการมีเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้น
กรณีศึกษา ยอมรับการตั้งครรภ์ รับรู้ว่าตนเองตั้งครรภ์ จึงซื้อที่ตรวจปัสสาวะมาตรวจครรภ์ด้วยตนเอง มารดารับรู้ว่าตนเองตั้งครรภ์ตอนอายุ7+4 สัปดาห์ เมื่อรู้ว่าตนเองตั้งครรภ์ได้ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลปทุมธานี