Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเคลื่อนไหวออกแรงและการออกกำลังกาย - Coggle Diagram
การเคลื่อนไหวออกแรงและการออกกำลังกาย
ความหมาย
การออกกำลังกาย หมายถึง การเคลื่อนไหวของร่างกายอย่างมีแบบแผน ทำเป็นประจำ มีการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่องและมีการทำงานของระบบต่างๆของร่างกาย เพื่อสุขภาพที่ดีและแข็งแรง
การเคลื่อนไหวออกแรง หมายถึง กิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวร่างกายที่เป็นการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ทำให้เกิดการเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้นจากการนั่งเฉยๆ
การเดินทาง
งานอดิเรก
การทำงานบ้าน
การประกอบอาชีพ
ตัวอย่างการประยุกต์ทฤษฎี
ตัวอย่างการใช้ Ottawa Charter
1.กำหนดให้เป็นนโยบาย เช่น สถานประกอบการกำหนดให้ทุกวันจันทร์ พุธ และศุกร์ เวลา 16.30-17.00 น. เป็นเวลาออกกำลังกายของพนักงานทุกคน
2.จัดให้มีสถานที่สำหรับออกกำลังกาย เช่น สนามกีฬา ลานเอนกประสงค์ รวมทั้งสนับสนุนอุปกรณ์ออกกำลังกาย
3.สนับสนุนให้พนักงานจัดตั้งชมรมหรือกลุ่มเพื่อออกกำลังกาย
4.จัดให้มีการสอนสุขศึกษา ให้ความรู้และสาธิตวิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมและถูกต้อง
5.จัดหน่วยให้คำปรึกษาด้านการออกกำลังกาย
ประโยชน์
1.ระบบหัวใจและหลอดเลือด : ช่วยให้หลอดเลือดทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เปราะ ยืดหยุ่นดี ป้องกันโรคหัวใจ
2.ระบบทางเดินหายใจ : ทำให้ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้า-ออกเพิ่มขึ้น ปริมาณการไหลเวียนเลือดเข้าสู่ปอดได้ดีขึ้น
3.ระบบภูมิคุ้มกันและสารที่ก่อให้เกิดมะเร็ง : ลดปัจจัยเสี่ยงในการเป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี และมะเร็งลำไส้ เพิ่มการไหลเวียนของเม็ดเลือดขาว
4.ระบบต่อมไร้ท่อและการเผาผลาญอาหาร : กระตุ้นต่อมหมวกไตให้หลั่งฮอร์โมนอีพิเนฟรีนและนอลอีพิเนฟรีน ทำให้หัวใจเต้นถี่และแรงขึ้น เพิ่มการเผาผลาญอาหาร
5.ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก : เพิ่มจำนวนและขนาดของไมโอไฟบริลในเส้นใยกล้ามเนื้อ ทำให้ลดปริมาณไขมันเพิ่มความหนาแน่นของกระดูก ทำให้รูปร่างและน้ำหนักตัวลดลงได้
6.สภาพจิตใจและอารมณ์ : ทำให้สุขภาพจิตดี อารมณ์ดี ลดความวิตกกังวล รู้สึกสนุกสนาน ช่วยให้นอนหลับสบาย
แนวคิดหลัก
การเคลื่อนไหวออกแรงหรือออกกำลังกายมีความสำคัญต่อมนุษย์ทุกวัย เนื่องจากส่งเสริมให้อวัยวะและระบบต่างๆภายในร่างกายทำงานได้ปกติ และป้องกันโรคที่เกิดขึ้นจากการขาดการเคลื่อนไหว ทุกคนควรเคลื่อนไหวออกแรงอย่างน้อย 30 นาที อย่างไรก็ตามถึงแม้การออกแรงเคลื่อนไหวจะมีประโยชน์แต่ก็ยังพบปัญหาในเกือบทุกวัย ดังนั้นพยาบาลจะต้องมีบทบาทในการสร้างเสริมการเคลื่อนไหวออกแรงที่เหมาะสมให้กับประชาชน
บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ
ผู้ประสานงาน
ผู้ให้การสนับสนุน
ผู้เป็นแบบอย่าง
ผู้ให้คำปรึกษา
ผู้ให้ความรู้
พฤติกรรม
"ฟิทท์"หรือ"FITTE"
ความถี่
ความแรง
ระดับต่ำ : หัวใจเต้นประมาณร้อยละ 50-65 เปอร์เซ็นต์ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด
ระดับปานกลาง : หัวใจเต้นประมาณร้อยละ 66-85 เปอร์เซ็นต์ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด
ระดับปานกลาง : หัวใจเต้นมากกว่าร้อยละ 85 เปอร์เซ็นต์ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด
ระยะเวลาหรือความนาน
ระยะอบอุ่นร่างกาย
ระยะออกกำลังกาย
ระยะผ่อนคลายร่างกาย
ประเภท
เพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรงและทนทาน
การออกกำลังกาย
แบบไอโซโทนิค
การออกกำลังกาย
แบบไอโซเมทริค
เพื่อเพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
การออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจน
การออกกำลังกายแบบไม่ใช้ออกซิเจน
เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นและผ่อนคลาย
ความสนุกสนาน
ประเมินพฤติกรรม
1.ประเมินจากพลังงานที่ใช้
ประเมินตามกิจกรรม
ประเมินตามระยะเวลาที่ใช้
2.ประเมินสภาพของร่างกาย
การตรวจสุภาพร่างกายเป็นการป้องกันอันตราย
การประเมินสมรรถภาพทางกายเพื่อยืนยันว่าออกกำลังกายได้โดยปลอดภัย
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยทางด้านคุณลักษณะของบุคคล
อายุ
เพศ
นิสัย
ปัจจัยทางด้านการรับรู้และทัศนคติ
อิทธิพลระหว่างบุคคล
อารมณ์
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน
การรับรู้ประโยชน์
อิทธิพลจากสถานการณ์
การรับรู้อุปสรรค