Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาล เด็กที่มีปัญหา ระบบหัวใจ :star:, นางสาวณัฐธยาน์…
บทที่ 3
การพยาบาล
เด็กที่มีปัญหา
ระบบหัวใจ :star:
โรคหัวใจแต่กำเนิด (Congenital Heart Disease)
:explode:
โรคหัวใจที่
ไม่มีอาการตัวเขียว
(A cyanotic Type)
:check:
ผนังกั้นหัวใจห้องล่างรั่ว
Ventricular Septal Defect (VSD) :tada:
มีรูรั่วที่ผนังกั้นห้องหัวใจห้องล่าง ทำให้ปริมาณเลือดที่ไปยังปอดมีมากขึ้น ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจด้านซ้ายก็เพิ่มมากขึ้นด้วย ทำให้หัวใจห้องซ้ายทำงานมากขึ้นจนหัวใจวายได้
อาการ มีเหงื่อออกมากโดยเฉพาะเวลาดูดนม ตัวเล็กเลี้ยงไม่โต ติดเชื้อระบบหายใจได้บ่อย, ภาวะแทรกซ้อนคือภาวะหัวใจวาย, การดูแลรักษา ไม่หยุดยาเอง, รับประทานนมและน้ำ, ผ่าตัด,สวนหัวใจ
ผนังกั้นหัวใจห้องบนรั่ว
Atrial Septal Defect (ASD) :tada: :
มีความผิดปกติในการสร้างผนังกั้น เอเตรียม คือมีรูรั่วที่ผนังเอเตรียม ซ้าย – ขวา
ทำให้เลือดไหลผ่านจากหัวใจห้องบนซ้ายผ่าน
รูรั่วไปห้องบนขวา
มักปิดได้เองในขวบปีแรกแต่ถ้าต้องผ่าตัดจะทำเมื่อทารก อายุ 5-10 ปี
อาการ มักจะเหนื่อยง่าย เหงื่อออกมาก มีอาการของโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ, การรักษา รูเล็กๆจะปิดได้เอง, หากหัวใจล้มเหลวต้องได้รับยาเพื่อประคับประคองอาการ , หากรอยรั่วใหญ่ต้องผ่าตัด
โรคหลอดเลือดหัวใจเกิน
Patent ductus ateriosus
(PDA) :tada:
เกิดจากการมีเส้นเลือดหัวใจเกินที่เรียกว่าเส้นเลือดพีดีเอ ซึ่งปกติจะใช้ไหลเวียนในครรภ์มารดา ถ้าคลอดมาแล้วยังไม่ลีบเล็กลงจะทำให้เลือดไหลลัดวงจร หัวใจจะทำงานหนักทำให้ผู้ป่วยมีภาวะหัวใจวายตามมา
การดูแล ป้องกันการเกิดภาวะหัวใจวาย, ป้องกันการติดเชื้อ, การรักษา ให้ยา อินโดเมทาซิน เพื่อปิดเส้นเลือด PDA, ผ่าตัด, สวนหัวใจ
กลุ่มอาการไอเซนเมนเกอร์
Eisenmenger :tada:
ผู้ป่วยจะมีอาการไอเป็นเลือด เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ หอบ เหนื่อย เป็นลม , การรักษา ดูแลตามอาการ เนื่องจากเป็นภาวะที่ไม่สามารถช่วยให้หายได้ , ดังนั้นต้องดูแลประคับประคองไปตลอดชีวิต อธิบายและให้กำลังใจ แก่พ่อแม่ของเด็ก
หลอดเลือดแดงใหญ่ของร่างกายส่วนไปเลี้ยงลำตัวส่วนล่างตีบ
Coarctation of Aorta (CoA) : :confetti_ball:
เป็นการตีบแคบของ aorta ส่วนใหญ่พบที่ตำแหน่ง ใกล้รอยต่อ ductus ateriosus หรือ aortic arch แบ่งได้สองชนิด
ชนิดที่พบในเด็กทารก
จะมีความดันโลหิตที่แขนสูงมากกว่าขา,อาการเขียวเฉพาะส่วนล่างของร่างกาย,หัวใจวาย,เลือดไปเลี้ยงร่างกายไม่เพียงพอ, การดูแลรักษา ให้ยาเพื่อช่วยขยายเส้นเลือดเกินนี้ไว้ไม่ให้หด,ทำการผ่าตัด
ชนิดที่พบในเด็กโตหรือผู้ใหญ่
จะมีความดันโลหิตสูงที่แขนมากกว่าขา,มีภาวะหัวใจวาย , การดูแลรักษา ทำการผ่าตัด,ทำบัลลูน, การใส่สเต็นท์
โรคลิ้นหัวใจหลอดเลือดแดงปอดตีบแคบ
Pulmonary Stenosis (PS) :tada:
เป็นโรคหัวใจที่มีการตีบของลิ้น pulmonary ทำให้เลือดดำไปปอดลดลงและ ทำให้หัวใจต้องทำงานมากกว่าเดิม
โรคหัวใจที่มีอาการตัวเขียว (Cyanotic Type)
: :tada:
เตตราโลจี ออฟ ฟาลโลต์
Tetra logy of Fallot (TOF) : :tada:
พบบ่อยที่สุดมีความผิดปกติ 4 อย่างคือ Pulmonary artery ตีบ, มี VSD ระหว่าง Ventricle ซ้ายและขวา , มีตำแหน่งของลิ้นหัวใจที่ aortic เลื่อนไปทางด้านขวา , มีการหนาตัวของ Ventricle ข้างขวา
ลิ้นหัวใจตีบ หรือหลอดเลือดเล็กกว่าปกติ เป็นเหตุให้เลือดถูกส่งไปฟอกที่ปอดน้อยกว่าปกติ จึงรั่วผ่านผนังห้องหัวใจไปออกทางด้านซ้ายและเอาไปเลี้ยงร่างกายต่อ กลายเป็นว่าเลือดที่ไปเลี้ยงร่างกายเป็นเลือดดำ เด็กจึงมีภาวะเขียว
อาการเหนื่อยง่าย เขียวขณะออกกำลัง เด็กชอบนั่งยองๆ การเจริญเติบโตช้า อาการเขียวมากขึ้นทันที
การรักษา ให้ยาโพรพาโนโลน เพื่อป้องกันภาวะเขียวกะทันหัน, ลดปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดภาวะเขียวกะทันหัน , ทำบูอลลูนหรือผ่าตัด, การช่วยเหลือเมื่อเด็กเขียวกระทันหัน จัดให้เด็กอยู่ในท่างอเข่าขึ้นมาชิดหน้าอกมากที่สุด
หลอดเลือดใหญ่ของหัวใจสลับขั้ว
Transposition of the Great Vessels
(TGV) : :tada:
ความผิดปกตินี้ทำให้เด็กที่เกิดมามีภาวะเขียวเนื่องจากเลือด
ที่ฟอกแล้วจากปอดถูกส่งกลับไปที่ปอด ขณะที่เลือดดำที่ถูกส่งมาที่หัวใจก็ถูกส่งไปเลี้ยงอวัยวะอื่น ๆ ต่ออีก
ความผิดปกติก็คือ มีการสลับกันของหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจ, การรักษามักให้ Prostaglandin เพื่อเปิด PDA หรือผ่าตัดเปลี่ยนทางไหลเวียนเลือด
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง
(Acquire Heart disease)
:explode:
โรคหัวใจรูห์มาติก
Rheumatic Heart Disease (RHD) :tada:
เป็นกลุ่มอาการของการอักเสบที่เกิดขึ้น ตามหลังการติดเชื้อที่คอหรือต่อมทอนซิล มักจะเป็นซ้ำอีก , เป็นโรคหัวใจที่เกิดจากการเป็นไข้รูห์มาติกซ้ำ ๆ กัน
หลายครั้ง ทำให้เกิดลิ้นหัวใจรั่วหรือตีบ, การรักษา เน้นเรื่องการที่ต้องได้รับยาปฏิชีวนะเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน อย่างต่อเนื่อง และการพบแพทย์สม่ำเสมอ
ภาวะหัวใจวาย
Heart failure : :tada:
สภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดเพื่อนำสารอาหารและออกซิเจนไปยังอวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอต่อความต้องการ, สาเหตุสำคัญมักเกิดจากโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด , อาการในเด็ก หัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็วมากขึ้นในขณะพัก ปัสสาวะออกน้อย เหงื่อออกมาก , การป้องกัน รับประทานยา รับประทานนมและน้ำแลพของที่มีประโยชน์ ไม่ปล่อยให้เด็กร้องนาน ไม่ใช้แรงมาก
การไหลเวียน
ระบบโลหิต :tada:
แบ่งเป็น 2 ระบบ
Pulmonary Circulation
เป็นการไหลเวียนของเลือดผ่านปอด
Systemic Circulation
เป็นการไหลเวียนทั่วระบบของร่างกาย ที่มีความเข้มข้นของงออกซิเจนสูง
หัวใจ 4 ห้อง
Atrium ซ้าย – ขวา, Ventricle ซ้าย - ขวา
หัวใจ 4 ลิ้น
Tricuspid valve,Bicuspid valve,Pulmonary valve,Aortic valve
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี
UDA6280003