Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Nursing care of the Child with Gastrointestinal problems - Coggle Diagram
Nursing care of the Child
with Gastrointestinal problems
Vitamin and Mineral Deficiency
Vitamin A
พบใน : ตับ ไต ไข่ นมและผักผลไม้ที่มีสีเหลือง สีส้มหรือสีเขียวเข้ม เช่น ฟักทอง มะละกอ แครอท ตำลึง
ขาด : ตาบอดกลางคืน (Nyctalopia หรอ night blindness) เยื่อบุตาแห้ง (Xerophthalmia)
Vitamin B1
พบใน : ข้าวซ้อมมือ เนื้ออหมู ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ถั่วดำและงา
หากขาด: เกิดโรคเหน็บชา (Beri-Beri)
Vitamin B6
พบใน : ปลา เนื้อแดง Whole grain cereals กล้วย ถั่วและเนยถั่ว
หากขาด : ชัก ปลายประสาทอักเสบ
Vitamin C
พบใน : ส้ม มะนาว มะเขือเทศ ฝรั่ง มะขามป้อม
หากขาด : เลือดออกตามไรฟัน “โรคลักปิดลักเปิด” (Scurvy)
Vitamin B12
พบใน : เฉพาะอาหารจากสัตว์ ได้แก่ ตับ เครื่องในสัตว์ ไข่นมเนื้อสัตว์ ปลา หอย กะปิ และน้ำปลา ไม่พบในพืชผักและผลไม้
หากขาด : เจ็บปาก ลิ้น ลิ้นเลี่ยน เจ็บปวด ชา ตามปลายมือปลายเท้า
Vitamin E
พบใน : น้ำมันพืช น้ำมันจมูกข้าว น้ำมันดอกคำฝอย ถั่วเปลือกแข็ง
หากขาด : ซีดจากเม็ดเลือดแดงแตก
Vitamin B2
พบใน : เนื้อสัตว์ ปลา ไข่ นม ผักใบเขียว ยีสต์ และ
หากเด็กที่ดื่มนม<1 แก้ว/วันอาจขาดวิตามินบี 2 ได้
หากขาด: ลิ้นอักเสบ (Glossitis) ปากนกกระจอก (Angular stomatitis)
Folic Acid Deficiency
เป็นสาเหตุของ megaloblastic anemia
ทำให้การเจริญเติบโตช้า เบื่ออาหารและน้ำหนักลด
การรักษา : รับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิก เช่น ผักใบ
เขียวเข้ม
Iodine Deficiency
หากขาด : ทำให้บกพร่องการเรียนรู้ช้า การเจริญเติบโตชะงักงัน เชื่องช้า
ง่วงนอน ท้องผูก ผิวหนังและผมแห้ง
พบใน : พืชและสัตว์ทะเล ปลาทะเล สาหร่าย
ทะเลแห้ง
Malnutrition
ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) คือ ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารผิดเบี่ยงเบนไปจากปกติ การได้รับสารอาหารน้อยกว่าปกติ/ขาดสารอาหาร การได้รับสารอาหารมากเกินไป
สาเหตุ
โรคทางกาย
ไม่ใช่โรคทางกาย
ปัญหาทางโภชนาการ
Marasmus (โรคผอมแห้ง)
ได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอ >> สลายไขมันและโปรตีนจากกล้ามเนื้อมาใช้เป็นพลังงาน >> กล้ามเนื้อและไขมันมีขนาดลดลง
อาการเริ่มแรกไม่ชัด อาจ ซึม/ หงุดหงิด
(Kwashiorkor (ภาวะขาดโปรตีนรุนแรง)
เกิดการสลายโปรตีนที่เก็บสะสมในร่างกาย >> บวม จาก Albumin ต่ำระยะแรก หลังเท้าบวม >> แขน >> ขาบวม 2 ข้าง ทั้งตัว และอาจมีน้ำในช่องท้อง (ECF เพิ่มถึง 30% น้ำระหว่างเซลล์ & น้ำเลือดลดลง)
Marasmic-kwashiokor
(ภาวะขาดพลังงานและโปรตีน)
ผอมแห้งกล้ามเนื้อฝ่อลีบ บวม ตับโต
เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะทุพโภชนาการเกณฑ์
Gomez's classification น้ำหนักเทียบกับอายุ (weight for age หรือ W/A)
Waterlow's classification ความสูงเทียบกับอายุ (Height for age หรือ H/A)
WHO
WHO (wasting) นheหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงผอม Z-scores/SD ต่ำกว่ามัธยฐานของนheหนักตามเกณฑ์ ตาม WHO Child Growth Standards
WHO (stunting) ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุเตี้ย Z-scores/SD ต่ำกว่ามัธยฐานของน้ำหนักตามเกณฑ์
ตาม WHO Child Growth Standards
Cole Z-scores ต่ำกว่าค่าดัชนีมวลกายตามอายุ Grade 1 <-1, Grade 2 <-2, Grade 3 <-3
Gastritis
การอักเสบ บวม แดง ของเยื่อเมือก/เยื่อบุภายในกระเพาะอาหาร
▪ มีอาการและรักษาหายภายใน 1-3 สัปดาห์ เรียกว่า โรคกระเพาะอาหารอักเสบเฉียบพลัน
▪ มีอาการเรื้อรัง เป็นๆหายๆ นานเป็นเดือนหรือเป็นปี เรียกว่า โรคกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง
สาเหตุ
ปริมาณกรดในกระเพาะอาหารมาก
ความเครียด
รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา
อาการและอาการแสดง
▪ ปวดท้อง (ใต้ลิ้นปี่) เป็นๆหายๆ
▪ ท้องอืด แน่นอึดอัดท้อง
▪ N/V อาจอาเจียนเป็นเลือดได้ ถ่ายเป็นเลือดหรือถ่ายเป็นสีดำ
Nursing Care : Gastritis
▪ ดูแลให้ได้รับยาลดกรด/ ยาแก้ปวด ตาม Rx.
▪ หาสาเหตุ ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ดจัดเปรี้ยวจัด งดดื่มน้ำอัดลม
▪ จัดการเล่น / เบี่ยงเบนความสนใจ
▪ สังเกตสีของอุจจาระ
Gastroenteritis
โรคกระเพาะอาหารและล้าไส้อักเสบ
การอักเสบของกระเพาะอาหาร/ ล้าไส้เนื่องจากการติดเชื้อ ซึ่งน้ำไปสู่อาการ ปวดท้อง อาเจียน
ท้องเสีย/ อุจจาระร่วงเฉียบพลัน
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อเป็นไวรัส Ex. Rotavirus
แบคทีเรีย Ex. S.typhimurium
การรักษา
▪ เช่นเดียวกับเด็ก Diarrhea
▪ ป้องกันและแก้ไขภาวะการขาดน ้า โดยการให้สารน ้าและเกลือแร่ทดแทน
▪ ATB กรณีไข้สูง ถ่ายเป็นเลือด/ Contact การระบาดของบิด Shigella / Vibrio cholera
Obesity
เกิดจากการได้รับอาหารที่ให้พลังงานมากเกินความต้องการ
จนเกิดการสะสมเป็นไขมันในร่างกาย การสะสมไขมันในช่องท้อง
Prader-willi syndrome มีรูปร่างอ้วน กินจุ มื้อเท้าเล็ก มีภาวะ ออติสติก มีความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 15
ผลกระทบ
หัวใจและหลอดเลือด : HT DLP MI
ระบบหายใจ : หยุดหายใจขณะหลับจากภาวะทางเดินหายใจอุดกัน (obstructive sleep apnea, OSA)
กระดูกและข้อ : น้ำหนักตัวมาก ขาโก่ง กระดูกหัก
GI : กรดไหลย้อน (gastroesophageal reflux disease, GERD)
ระบบต่อมไร้ท่อ : Insulin สูง นำไปสู่ DM type 2
ผิวหนัง : acanthosis nigricans
Diarrhea
ท้องร่วง/ อุจจาระร่วง/ ท้องเสีย
ถ่ายอุจจาระเหลว ≥ 3 ครั ง/วัน หรือ ถ่ายมีมูก/ปนเลือด อย่างน้อย
1 ครั ง/ ถ่ายเป็นน ้าจ้านวนมาก 1 ครั งขึ นไป ใน 1 วัน
ชนิดของอุจจาระ
1.ท้องร่วงเฉียบพลัน (Acute diarrhea) : ท้องร่วงทเป็นมาไม่เกิน 7 วัน
ท้องร่วงยืดเยื้อ (Prolonged diarrhea) : ท้องร่วงทเป็นนาน 8-13 วัน
3.ท้องร่วงเรื้อรัง (Persistent or Chronic diarrhea) : ท้องร่วงที่เป็นนานตั้งแต่ 14 วันขึ้นไป
Stomatitis
เยื่อบุในปากอักเสบ
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส ที่พบบ่อย คือ Herpes simplex พบ
มากที่สุดในเด็ก 1-3 ปี
อาการ : ปวด น ้าลายมาก มีกลิ่นปาก ทานอาหารได้น้อย
Nursing Care Stomatitis
▪ เช็ดตัวลดไข้ และให้ยาลดไข้ตาม Rx.
▪ ดื่มน้ำมากๆ
▪ ท้าความสะอาดช่องปากบ่อยๆ แปรงฟันและ