Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิ…
บทที่ 4
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
1.การแจ้งข่าวร้าย
ข่าวร้าย
ทำให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง
มีผลกระทบต่อความรู้สึก การดำเนินชีวิต
และอนาคตของบุคคลและครอบครัว
ข้อมูลที่เป็นข่าวร้าย
ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
การกลับไปเป็นนโรคซ้ำ
ความพิการ
การสูญเสียภาพลักษณ์
โรครุนแรงหรือรักษาไม่หาย
การเสียชีวิต
ปัจจัยที่มีผลต่อการแปลผลข้อมูลของผู้รับข่าวร้าย
ภูมิหลังของผู้รับข่าวร้าย
ความเชื่อและวัฒนธรรม
ความคาดหวังและความเป็นจริงที่เกิดขึ้น
ตัวอย่างข่าวร้ายในผู้ป่วยวิกฤต
การได้รับการเจาะคอ
การใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำ
ผลเลือดเป็นบวกหรือติดเชื้อ HIV
เป็นมะเร็งระยะลุกลามไม่สามารถรักษาได้
การเกิดโรคแทรกซ้อนที่อาจทำให้เสียชีวิต
การสูญเสียญาติหรือคนเป็นที่รัก
ผลกระทบของข่าวร้าย
ต่อผู้ป่วยและครอบครัว
ต่อผู้ดูแลรักษา
ผู้แจ้งข่าวร้าย
ผู้แจ้งข่าวร้าย
ทีมรักษาผู้ป่วย
ทีม Palliative Care
ความพร้อมของผู้แจ้งข่าวร้าย
ดูแลด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์
ฝึกฝนและมีประสบการณ์วิธีการแจ้งข่าวร้าย
มีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับแผนการรักษา
ผลการรักษาและการดำเนินโรค
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ข้อพิจารณาที่แพทย์สามารถแจ้งแก่ญาติโดยไม่ต้องแจ้งแก่ผู้ป่วย
โรคทางจิต
เป็นเด็ก
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มจะทำร้ายตนเองหากได้รับข่าวร้าย
ปฎิกิริยาเมื่อได้รักการแจ้งข่าวร้าย
การสูญเสียหรือได้รับข่าวร้ายมักจะมีปฏิกิริยาทางจิตวิทยาเกิดขึ้นมากน้อยแล้วแต่บุคคล Elisabeth Kubler - ross
แบ่งปฏิกิริยาของความเศร้าโศก หรือ ปฏิกิริยาต่อข่าวร้ายเป็น 5 ระยะ ได้แก่
ระยะปฏิเสธ (Denial)
ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้ ไม่เชื่อ ไม่ยอมรับความจริง ไม่เชื่อผลการรักษา
ระยะโกรธ (Anger)
ปฏิกิริยาอาจออกมาในลักษณะ อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน “ทําไมต้องเกิดขึ้นกับเรา” “ไม่ยุติธรรมเลย ทําไมต้องเกิดกับเรา”ถ้าแพทย์หรือผู้เกี่ยวข้องไม่เข้าใจ ก็อาจจะโกรธตอบ และหลีกเลี่ยงการเข้าไปดูแล
ระยะต่อรอง (Bargaining)
ต่อรองความผิดหวังหรือข่าวร้ายที่ได้รับ รู้สึกว่าตนเองมีความผิดที่ยังไม่ได้ทำสิ่งที่ค้างคา “อยากเห็นลูกเรียนจบก่อน” “ฉันรู้ว่ามันร้ายแรง คงรักษาไม่หาย แต่ฉันอยาก....”
ระยะซึมเศร้า (Depression)
เริ่มรับรู้ว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเป้นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ระยะยอมรับ (Acceptance)
มีการบกพร่องในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และหน้าที่การงาน
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะยอมรับ
ยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง
มองเหตุกการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น
มองเป้าหมายในอนาคตมากขึ้น ปรับตัวไปด้วย
ผลลัพธ์หลังจากการแจ้งข่าวร้าย
การประชุมครอบครัว (Family meeting)
การให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนผู้ป่วยและครอบครัว
การตัดสินใจเลือกแนวทางการดูแลผู้ป่วย
ความร่วมมือและวางแผนในทีมดูแล
การวางแผนการดูแลล่วงหน้า (Advanced care plan)
บันทึกการแสดงเจตนารมณ์ล่วงหน้าก่อนตาย (Advanced
directive)
2.การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต
(End of life care in ICU)
มโนทัศน์เกี่ยวกับการเจ็บป่วยระยะท้ายและภาวะใกล้ตาย
การเจ็บป่วยระยะท้าย
ภาวะบุคคลอยู่ในภาวะความเจ็บป่วยที่คุกคามต่อชีวิต มีการดําเนินโรคลุกลามอย่างมาก ทําให้การทําหน้าที่ของอวัยวะต่างๆของร่างกายไม่สามารถกลับคืนสู่ภาวะปกติ
ภาวะใกล้ตาย
ผู้ที่เข้าสู่ช่วงใกล้เสียชีวิต มีอาการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายมากขึ้น จากการทําหน้าที่ของอวัยวะสําคัญของร่างกายลดลงหรือล้มเหลว และมีค่าคะแนนPalliative performance scale (PPS)น้อยกว่า 30
การดูแลแบบประคับประคอง หรือ การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย หรือ palliative care
วิธีการดูแลที่มุ่งเน้นเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วยที่มีโรคหรือภาวะคุกคามต่อชีวิต โดยการป้องกันและบรรเทาความทุกข์ทรมานต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและครอบครัว
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวคิดการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care)
มุ่งเน้นในช่วงของการเจ็บป่วยในช่วงปีหรือเดือนท้ายๆของชีวิต
แนวคิดการดูแลตามทฤษฎีความสุขสบาย (comfort theory)
ทฤษฎีความสุขสบาย (comfort theory)
เน้นความสุขสบายที่เป็นผลลัพธ์ของการพยาบาล
ความสุขสบายแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1)บรรเทา (relief) หมายถึง ความไม่สุขสบายที่มีอยู่ทุเลาเบาบางลง
2) ความสงบ ผ่อนคลาย (ease) หมายถึง ความไม่สุขสบายหายไปหรือสงบผ่อนคลาย
3) อยู่เหนือปัญหา (transcendence) หมายถึง ความสุขที่อยู่เหนือความไม่สุขสบายทั้งปวงแม้ว่าจะไม่สามารถขจัดหรือหลีกเลี่ยงได้
กิจกรรมการดูแลที่ส่งเสริมความสุขสบายของผู้ป่วยและครอบครัวตามทฤษฎี
มาตรฐานการพยาบาลเพื่อความสุขสบาย เพื่อรักษาความสมดุลของร่างกาย (Homeostasis)
การสอน แนะนํา เป็นพี่เลี้ยง (coaching)
อาหารด้านจิตวิญญาณ (comfort food for the soul)
การดูแลแบบประคับประคองมุ่งให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบหรือ ตายดี (Good death)
ประเด็นจริยธรรมที่สําคัญในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต
การุณยฆาตหรือ ปราณีฆาต หรือ เมตตามรณะ(mercy killing or euthanasia)
การยุติความทุกข์ทรมานของผู้ป่วยคือการตายที่สงบโดยแพทย์เป็นผู้ช่วยให้ผู้ที่ซึ่งจากการพิจารณา
แบ่งได้ 2 ประเภท
1.1 การทําการุณยฆาตโดยความสมัครใจ (Voluntaryeuthanasia)
ผู้ป่วยร้องขอให้ยุติการรักษาพยาบาล แพทย์ทําให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตโดยเจตนาตามความประสงค์ของผู้ป่วย
1.2 การทําการุณยฆาตโดยผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้เอง (Involuntaryeuthanasia)
การทําให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตโดยเจตนา โดยปล่อยให้เกิดการตายตามธรรมชาติ ตามพยาธิสภาพของโรค
2.การยืดหรือการยุติการรักษาที่ยืดชีวิต
2.1 การยับยั้งการใชhเครื่องมือชjวยชีวิตในการบําบัดรักษา (withholding of life-sustaining treatment)
การไม่เริ่มต้นใช้เครื่องมือช่วยชีวิต
2.2 การเพิกถอนการใช7เครื่องมือช;วยชีวิตในการบําบัดรักษา (withdrawal of life-sustaining treatment)
การเพิกถอนใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบําบัดรักษา เช่น การเพิกถอนเครื่องช่วยหายใจ
3.การฆ่าตัวตายโดยความช่วยเหลือของแพทย์ (Physician-assisted suicide)
การฆ่าตัวตายโดยเจตนา และได้รับความช่วยเหลือจากแพทย์
4.การจัดสรรทรัพยากรที่มีจํานวนจํากัด
ผู้ป่วยวิกฤตมักจะเกิดความล้มเหลวของอวัยวะต่างๆในหลายระบบจึงต้องอาศัยเครื่องมือทางการแพทย์และทรัพยากรอื่นๆทางการแพทย์มาช่วยชีวิตไว้
5.การบอกความจริง(Truth telling)
บอกให้ผู้ป่วยและญาติทราบเพื่อการเตรียมตัวเตรียมใจ
6.การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ(Organ transplantation)
ผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตยืดยาวออกไป
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Professional culture
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
ความไม่แน่นอนของอาการ
Multidisciplinary team
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มลูกละเลย
ทรัพยากรมีจํากัด
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต