Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มที่ 1 PIH - Coggle Diagram
กลุ่มที่ 1 PIH
-
ประเภทของความดันโลหิตสูง
-
- Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
-
-
-
อาการและอาการแสดง
- ความดันโลหิตสูงตั้งแต่ 140/90 mmHg ขึ้นไป ตรวจพบครั้งแรกหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
- มีโปรตีนในปัสสาวะตั้งแต่ 300 mg/ หรือ 0.3 gท/. ในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
- ปวดจุกแน่นยอดอก (epigastric pain หรือ right upper quadrant pain) มีอาการเจ็บบริเวณชายโครงด้านขวา
- ความผิดปกติทางสายตา (visual disturbance) มีอาการตาพร่ามัว มองภาพไม่ชัดเกิดจากหลอดเลือดแดงเล็กๆ ในดวงตามีการหดรัดตัวฟ
- อาการปวดศีรษะจากหลอดเลือดแดงในสมองหดเกร็ง
- ปฏิกิริยาตอบสนองที่ไวกว่าปกติ (hyperreflexia) เป็นอาการแสดงถึงภาวะสมองมีการระคายเคืองจากการขาดเลือด ได้รับเลือดน้อย หรือสมองบวม
- อาการบวม การบวมที่ผิดปกตินี้เกิดจากสารน้ำออกจากหลอดเลือดมากขึ้น
การพยาบาล
-
-
Eclampsia
- ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยใส่ oral airway หรือ mouth gag เพื่อป้องกันไม่ให้กัดลิ้น และและสะดวกในการดูดเสมหะและน้ำลายป้องกันการสำลัก
- ให้ออกซิเจน mask 8-10 ลิตร/นาที เพื่อเพิ่มออกซิเจนให้กับสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
- จัดท่านอนตะแคง เพื่อช่วยขับสิ่งคัดหลังออกจากปาก ช่วยให้เลือดไหลเวียนในมดลูกมากขึ้น และยกไม้กั้นเตียงโดยใช้หมอนรองรับเพื่อป้องกันอันตรายจากการชัก
- เตรียมให้สารน้ำและแมกนีเซียมซัลเฟตตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันการชัก
- เตรียมยาลดการดันโลหิต ยาขับเป๋าสวตามแผนการรักษา ในกรณีที่มีอาการแสดงของน้ำท่วมปอด นอกจากนี้แพทย์อาจให้ยารักษาโรคหัวใจเพื่อเพิ่มการบิดตัวของหัวใจ
- ประเมิน v/s ทุก 15 นาที จนกว่าปกติ ติดตามค่า oxygen saturation อย่างต่อเนื่อง นอกจากสังเกตและบันทึกอาการ ระยะเวลาของชัก ระยะเวลาหยุดหายใจ ระดับความรู้สึกตัวและพฤติกรรมหลังชัก
- สังเกตและบันทึกอาการสมอง ได้แก่ระดับวามรู้สึกตัว ขนาดpupil และการตอบสนองแสง การเคลื่อนไหวของตา
- ประเมินน้ำเข้าออกทุก 1 ชม.
การรักษา
Eclampsia
- เปิดทางเดินหายใจและป้องกันการกดลิ้น
- ให้ MgSO4 4 g ทาง iv อย่างน้อย5นาทีจนหมด หากมีอาการชักให้ฉีดช้าๆ
- ส่งตรวจทางห้องlab ประเมินและควบคุมความดันโลหิต เช่นเดียวกับpreeclampsia
-
- ประเมินสุขภาพทารก ถ้ามารดาชักจะส่งผลต่อทารกให้ขาดออกซิเจนชั่วคราว
-
Chronic Hypertension
-
- ประเมินความรุนแรงและเฝ้าระวังการเกิด superimposed preeclampsia เกิดไม่บ่อยแต่อาจเกิดในไตรมาสที่2
- พิจารณาให้ยาลดความดันโลหิต Aldomet เริ่มขนาด 250 mg วันละ2-4ครั้ง เพื่อควบคุมให้อยู่ในระดับ 90-100 mmHg
-
การวินิจฉัย
-
ตรวจร่างกาย และผล Lab
-
2.Urine protein 2 1+, 2 300 mg (24hr),protein: creatinine ratio ≥ 0.3
-
แนวทางการป้องกัน
-
ขั้นทุติยภูมิ
ตรวจพบภาวะ preeclampsia ให้ได้เร็วที่สุดด้วยมาตรการการตรวจคัดกรองต่างๆในสตรีตั้งครรภ์ที่มีประวัติเสี่ยงสูง
-
-
-
-
-
ขั้นตติยภูมิ
ดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ preeclampsia อย่างรวดเร็วและถูกต้องเพื่อลดอัตราการเสียชีวิตและทุพพลภาพของมารดาและทารก
พยาธิสภาพ
การฝังตัวของรก
ผิดปกติ:หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตสูง:ความผิดปกติ cytotrophoblast ขยายอยู่ชั้นตื้น(decides)ไม่ถึงชันกล้ามเนื้อมดลูก(myometril segment)> spiral arteryตีบแคบ>รกขาดเลือดและO2,ภาวะเครียดออกซิเดชัน>sFlt-1(ยับยั้งการสร้างหลอดเลือดใหม่)มีการหลั่งเพิ่มขึ้น>PlGFลด(การสร้างหลอดเลือดใหม่ลดลง),VEGFลด(การขยายหลอดเลือดลดลง)>ลดการขับของเสียที่ไต>หลอดเลือดตีบแคบ,การกรองของไตน้อยลง>เซลล์บุผนังหลอดเลือดเสื่อม>เลือดไปเลี้ยงร่างกายน้อยลง,กระตุ้นการแข็งตัวของเลือด>เกิดลิ่มเลือดอุดตันทั่วร่างกาย>อันตรายถึงชีวิต
การฝังตัวของรก
ปกติ: trophoblast cell จะแผ่ขยายเข้าสู่ชั้น decidual segment และหนึ่งในสามของ myometrial segment >spiral arteryขยายใหญ่>ส่งผ่านเลือดไปยังทารกได้ดี
-
นิยาม
การที่มีความดัน โลหิตสูงมากกว่าหรือเท่ากับ140/90 mmHg และมีโปรตีนรั่วในปัสสาวะโดยอาจจะมีหรือไม่มีภาวบวมก็ได้