ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

🚩4.การวัดปริมาณสาร(ความเที่ยง/ความแม่น) อุปกรณ์วัดมวลและปริมาตร/หน่วยวัด

1.ข้อควรปฏิบัติในการทำปฏิบัติการเคมี

  1. ฉลากข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยของสารเคมีในระบบ GHSและระบบ NFPA

5.เลขนัยสำคัญ/แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย

🚩 6 วิธีการทางวิทยาศาสตร์

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน
image

5.1 เลขนัยสำคัญ (Significant Number )

  • คือ จำนวนหลักของตัวเลขที่แสดงความเที่ยงตรงของปริมาณที่วัด/คำนวณได้จากการวัดโดยใช้เครื่องมือที่เป็นสเกล เลขทุกตัวที่บันทึกจะมีความหมาย ส่วนความสำคัญของตัวเลขจะไม่เท่ากัน ดังนั้น เลขทุกตัวจึงมีนัยสำคัญ ตามความเหมาะสม
  • เลขนัยสำคัญ ประกอบด้วย ตัวเลขที่อ่านค่าได้โดยตรง (ค่าแน่นอน) และตัวเลขที่ได้จากการประมาณค่าด้วยสายตา (ค่าประมาณ)

5.2แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย (conversion factors)
เป็นอัตราส่วนซึ่งได้จากการเปรียบเทียบความสำคัญของหน่วยที่เกี่ยวข้อง ทั้งที่มีปริมาณอยู่ในมิติเดียวกันแต่มีหน่วยต่างกันหรือมีปริมาณอยู่ต่างมิติกันก็ได้ โดยข้อมูลเชิงปริมาณทั้งหมดที่จะนำมาสัมพันธ์กันต้องเป็นข้อเท็จจริง

💥 ขั้นตอนที่ 2 : การตั้งสมมุติฐาน 🔒
คือ การคาดคะเนคำตอบล่วงหน้า ก่อนทำการทดลองซึ่งอาศัยการสังเกต และ ประสบการณ์เดิมที่เป็นพื้นฐาน
รูปแบบของสมมุติฐาน: ถ้า...(จะตามด้วยตัวแปรต้น) ดังนั้น...(จะตามด้วยตัวแปรตาม)
ตัวแปรมี 3 ชนิด 🎉 : ตัวแปรต้น (สาเหตุ) ตัวแปรตาม (ผล) ตัวแปรควบคุม (สิ่งที่นอกเหนือจากตัวแปรต้นแต่มีผลต่อการทดลอง)
Example** :** Link Title

🏁 ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบสมมติฐานและออกแบบการทดลอง 🔥
คือ เป็นกระบวนการหาคำตอบของสมมุติฐาน โดยวิธีการตรวจสอบสมมติฐานสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การใช้ข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือ การสังเกตและการทดลอง โดยมีการควบคุมปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการทดลอง

🖊 ขั้นตอนที่ 4 การรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผล 😃
คือ เป็นขั้นที่นำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การค้นคว้า การทดลองหรือการรวบรวมหรือข้อเท็จจริงมาทำการวิเคราะห์ผลแล้วนำไปเปรียบเทียบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ว่าสอดคล้องกับสมมติฐานข้อใด

🏴หลักเกณฑ์การคำนวณเลขนัยสำคัญ

🏴หลักการพิจารณาเลขนัยสำคัญ

1.ตัวเลข 1-9 /ตัวเลขที่ไม่เลข 0 นับเป็นเลขนัยสำคัญ
Ex. 5.78 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
123 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
2.เลข 0 ที่อยู่หน้าตัวเลขอื่นๆ ไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญ
Ex. 0.14 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
0.0000014518 มีเลขนัยสำคัญ 5 ตัว
3.เลข 0 ที่อยู่ระหว่างหรือหลังตัวเลขอื่น นับเป็นเลขนัยสำคัญ
Ex. 0.2006 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว
1.59000 มีเลขนัยสำคัญ 6 ตัว
4.ค่าคงที่หรือเลขสูตร ไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญ
Ex. Ø , 2πR => 2 และ π เป็นค่าคงที่
5.เลขสัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
5.1 ตัวเลข นับเป็นเลขนัยสำคัญ
5.2 เลขยกกำลังฐาน 10 ไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญ
Ex. 2.507 x 10^60 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว
6.จำนวนที่มีค่าน้อยมากๆหรือค่าใหญ่มากๆนิยมเขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ก่อน แล้วนับเป็นเลขนัยสำคัญ
Ex. 359000 เปลี่ยนเป็นเลขสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
7.เลขที่มีความคลาดเคลื่อน (a*/-Δa)
7.1 ตัวเลขจริง(a) นับเป็นเลขนัยสำคัญ
7.2 ค่าความคลาดเคลื่อน(Δa) ไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญ
Ex. 9.70+/-0.05 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว

ขั้นตอนที่ 1 : การระบุปัญหา
คือ การกำหนดหัวข้อเรื่องที่เราสนใจอยากจะศึกษา ซึ่งอาจได้มาจากการสังเกตสิ่งรอบๆตัว หรือ จากคำบอกเล่า เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 5 การสรุปผล 🔓

เลขนัยสำคัญที่ได้จากการคำนวณ 🖊


1.ถ้าตัวเลขที่ต้องการปัดเศษต่ำกว่า 5 ให้ปัดลงโดยตัดตัวเลขนั้นออกไป ส่วนเลขสุดท้ายของตำแหน่งที่ต้องการยังคงเป็นตัวเลขเดิม
Ex. จงทำให้จำนวน 45.27418 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว

 > ตัวเลขตัวสุดท้ายของเลขนัยสำคัญตำแหน่งที่ 4 คือ 7 ดังนั้น ตัวเลขที่ต้องการปัดเศษ คือ 4 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 5 จึงปัดลง โดยการตัดตัวเลขหลัง 7 ทิ้งไป จะได้จำนวนที่มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัวเป็น 45.27  <

2.ถ้าตัวเลขที่ต้องการปัดเศษมากกว่า 5 ให้ปัดขึ้นโดยตัดตัวเลขนั้นออกไป แล้วเพิ่มค่าของตัวเลขตัวสุดท้ายของตำแหน่งที่ต้องการอีก 1
Ex. จงทำให้ตัวเลข 62.8761 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว

> ตัวเลขตัวสุดท้ายของเลขนัยสำคัญตำแหน่งที่ 4 คือ 7 ดังนั้น ตัวเลขที่ต้องการปัดเศษ คือ 6 ซึ่งมีค่ามากกว่า 5 จึงปัดขึ้น โดยการตัดตัวเลขหลัง 7 ทิ้งไปแล้วเพิ่มค่าของ 7 อีก 1 จะได้จำนวนที่มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัวเป็น 62.88  <

3.ถ้าตัวเลขที่ต้องการปัดเศษมีค่าเท่ากับ 5ให้พิจารณาตัวเลขตัวสุดท้ายของตำแหน่งที่ต้องการ ถ้าเป็นเลขคี่ให้ปัดขึ้น แต่ถ้าเป็นเลขคู่ให้ปัดลง
**Ex. จงทำให้จำนวน 324.615 มีเลขนัยสำคัญ 5 ตัว

> ตัวเลขตัวสุดท้ายของเลขนัยสำคัญตำแหน่งที่ 5 คือ 1 ดังนั้น ตัวเลขที่ต้องการปัดเศษ คือ 5 จึงพิจารณาตัวเลขตัวสุดท้ายของตำแหน่งที่ต้องการ คือ 1 ซึ่งเป็นเลขคี่ จึงปัดขึ้น โดยตัดตัวเลขหลัง 1 ออกแล้วเพิ่มค่าของ 1 อีก 1 จะได้จำนวนที่มีเลขนัยสำคัญ 5 ตัวเป็น 324.62  <

Ex. จงทำให้จำนวน 27.4865 มีเลขนัยสำคัญ 5 ตัว

> ตัวเลขตัวสุดท้ายของเลขนัยสำคัญตำแหน่งที่ 5 คือ 6 ดังนั้น ตัวเลขที่ต้องการปัดเศษ คือ 5 จึงพิจารณาตัวเลขตัวสุดท้ายของตำแหน่งที่ต้องการ คือ 6 ซึ่งเป็นเลขคู่ จึงปัดลง โดยตัดตัวเลขหลัง 6 ทิ้งจะได้จำนวนที่มีเลขนัยสำคัญ 5 ตัวเป็น 27.486  <

การบวกและการลบ : "ผลลัพธ์ที่ได้มีจำนวนทศนิยมเท่ากับจำนวนทศนิยมที่น้อยที่สุดของตัวเลขนัยสำคัญที่นำมาบวกหรือลบกัน"
Ex. จงหาคำตอบของ 53.27 m + 16.8 m
จำนวนที่มีเลขทศนิยมน้อยที่สุด คือ 16.8 มีเลขทศนิยม 1 ตำแหน่ง คำนวณข้อมูลแล้วปัดเศษผลลัพธ์ให้มีเลขทศนิยม 1 ตำแหน่ง
ผลลัพธ์ของ 53.27 m +16.8 m เท่ากับ 70.07 m
ตอบตามหลักเลขนัยสำคัญ คือ 70.1


การคูณและการหาร : "ผลลัพธ์ที่ได้มีจำนวนนัยสำคัญเท่ากับจำนวนนัยสำคัญที่น้อยที่สุดของตัวเลขนัยสำคัญที่นำมาคูณหรือหารกัน"
Ex. จงหาคำตอบของ 0.9387 mm x 1.542 mm x 1.32 mm
จำนวนที่มีเลขนัยสำคัญน้อยที่สุด คือ 1.32 ซึ่งมีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว คำนวณข้อมูลแล้วปัดเศษผลลัพธ์ให้มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
ผลลัพธ์ของ 0.9387 mm x 1.542 mm x 1.32 mm เท่ากับ 2.7656 ลบ.มม.
ตอบตามหลักเลขนัยสำคัญ คือ 2.76 ลบ.มม.

ฉลากข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยของสารเคมีในระบบ GHS

หลักการของ GHS

หลักการสำคัญของ GHS

ขอบข่ายของระบบ GHS

ความเป็นมาของ GHS

ข้อจากัดการนา GHS ไปใช้

ฉลากข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยของสารเคมีในระบบ NFPA

สาร/สารผสม

การจำแนกความเป็นอันตราย

ความเป็นอันตรายทางกายภาพ

ความอันตรายต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

การสื่อสารความเป็นอันตรายไปยังกลุ่มเป้าหมาย

ฉลาก

เอกสารข้อมูลความปลอดภัย

• ระดับการปกป้องสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจะต้องไม่ลดลงจากระบบเดิม

• จาแนกความเป็นอันตรายบนพื้นฐานของคุณสมบัติที่เป็นจริง / ที่เป็นอันตารายของสารเคมี

• ไม่สนับสนุนให้ทดลองความเป็นอันตรายกับสัตว์ทดลอง

• การจาแนกความเป็นอันตราย ต้องใช้ข้อมูลที่ยอมรับและเชื่อถือได้

• ต้องเปลี่ยนแปลงระบบเดิมที่มีอยู่ทั้งหมด และทาให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน

• คำนึงถึงการปกป้องความลับทางธุรกิจด้วย (CBI)

• ประเทศต่าง ๆ และ องค์กรสหประชาชาตอได้ตระหนักถึงมหัตภัย และอันตรายที่เกิดจาก สารเคมี

❤ นิยามทั่วไป

✒ นิยามเชิงปฏิบัติ

มาตรการและข้อกำหนด เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการ สารเคมีอย่างเป็ นระบบ

UNCED จงึ ได้กาหนดแผนปฏิบัตกิ าร 21 ( Agenda 21) เพ่อืเป็นแนวทางปฏิบัตสินับสนุนให้เกิดการพฒันาอย่าง ยั่งยืน

(United Nation Conference for Environment and Development – UNCEDorTheEarthSummit)เพื่อให้เกิด การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน

ปีค.ศ.1992(พ.ศ.2535)สหประชาชาตไิด้ประชุมสมาชกิ จาก 150 ประเทศ ณ กรุงริโอ เดอ จานาโร ประเทศบราซิล ในประเดน็ด้านส่งิแวดล้อมและการพฒันา

ของภาคส่วน ต่างๆ ในสังคม

•การพัฒนาระบบGHSทางด้านวชิาการได้จัดทาเป็น

• ค่มู ือในการจาแนกประเภทสารเคมี การส่ือสารความ เป็ นอันตรายจากสารเคมีด้วยฉลากสารเคมีและข้อมูล ความปลอดภัยสารเคมี (UN Purple Book)

• เพ่อืเป็นหลักการเบอื้งต้นในการนาไปปฏบิัตเิพ่อืให้ การจาแนกประเภทและตดิฉลากสารเคมีเป็นระบบ เดียวกันท่วัโลก

• ILO จัดทาเกณฑ์การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard Communication) ด้านกายภาพ

• OECD จัดทาเกณฑ์การพิจารณาความเป็นอันตราย จากสารเคมีด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม และสารผสม

• UNCETDG จัดทาเกณฑ์การพิจารณาความเป็น อันตรายจากสารเคมีด้านกายภาพและเคมี

• IOMC จัดทาแนวทางสาหรับกระบวนการจาแนก ประเภทสารเคมีในหลักการเดียวกัน โดยกลุ่มผู้ ประสานงาน Coordinating Group for the Harmonization of Chemical Classification system (CG/HCCS)

• GHS ได้รับการรับรองเป็นทางการและเริ่มใช้ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ • GHS มีการทบทวนและปรับปรุง ทุก ๆ ๒ ปี

• การทบทวนครั้งแรก (Rev.1) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘

• จนถึงปัจจุบัน การทบทวนและปรับปรุงล่าสุดเป็นครั้งที่ ๖ (Rev.6) ดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๕๘

หมายถึง : การกำหนดความหมายและขอบเขตของคำต่างๆอย่างชัดเจน
สามารถสังเกต วัด หรือ พิสูจน์ทดสอบได้
🎊 ตัวอย่าง : เบส คือ สารที่เปลี่ยนกระดาษลิตมัส จากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน

หมายถึง : การให้คำจำกัดความ ความหมายของคำต่างๆให้ชัดเจน แต่ไม่สามารถ สังเกต วัด หรือ ตรวจสอบได้
ตัวอย่าง : เบส คือ สารที่ทำให้กระดาษลิตมัสมีการเปลี่ยนแปลง

• ครอบคลุมสารเคมีทุกชนิด สารละลายเจือจาง (Dilute solution) และ สารผสม (Mixtures) รวมไป ถึงการทางานเกี่ยวกับสารเคมีในสถานประกอบการ การขนส่ง และผู้บริโภค
• ไม่รวมถึง เภสัชภัณฑ์ (ยารักษาโรค) สารเติมแต่งใน อาหาร เครื่องสาอาง สารป้องกันกาจัดศัตรูพืชที่ตกค้าง ในอาหาร และการใช้สารเคมี ณ จุดของการใช้บริโภค

image

๑.ไม่ใชก่ารประเมินความเส่ียงสารเคมีและไม่ใช้ในการตัดสินใจสาหรับการ บริหารความเสี่ยง

๒. การจาแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายนี้ ประเมิน จากความเป็น อันตรายตามคุณสมบัตขิองสารเคมโีดยตรงต้องเข้าใจความหมายของ อันตราย และความเส่ียง

ความเส่ียง = อันตราย x การได้รับสัมผัส

๓. การสื่อสารความเปน็อันตรายต้องเตือนให้ผู้เก่ียวข้องลดการรับสัมผัส สารเคมี เพราะทาให้ความเสี่ยงจากอันตรายของสารเคมีลดลง

๔. การสื่อสารความเปน็อันตรายต้องบอกท้ังอันตรายและความเสี่ยง (แต่ GHS บอกเฉพาะอันตรายของสารเคม)ี

image

image

ประโยชน์ของระบบ GHS

• ลดอุบัติเหตุจากสารเคมี

• ลดค่าใช้จ่ายของรัฐในการดูแลสุขภาพของประชาชน

• สามารถหลีกเลี่ยงความซ้าซ้อนในการทางานของส่วนราชการ ต่างๆ (ในการจาแนก การจัดทาฉลาก และเอกสารข้อมูล ความปลอดภัยของสารเคมี)

• ส่งเสริมการค้าขายสารเคมีระดับนานาชาติ

• ภาพพจน์ที่ดีและชื่อเสียงของประเทศในด้านการจัดการสารเคมี ที่ดี

• สภาพแวดล้อมในการทางานมีความปลอดภัยมากขึ้น

• สามารถลดค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎระเบียบ

ว่าด้วยการสื่อสารความเป็นอันตรายของภาครัฐ

• ใช้แรงงานและค่าใช้จ่ายอย่างคุ้มค่าในการบริหารจัดการ สารเคมี

• ลดค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาล เนื่องจากมีอุบัติเหตุและ การเจ็บป่วยจากสารเคมีน้อยลง

• สร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร

• คนงานมีความปลอดภัยในการทางานมากขึ้น

• คนงานตระหนักในเร่ืองอันตรายจากสารเคมีมากขึ้น

• ทาให้การใช้สารเคมีท้ังในสถานที่ทางานและที่บ้าน มีความปลอดภัยมากขึ้น

2336B727-6387-4B0D-9130-95B2D3ABD411

: : 85A368FD-5832-4F23-89B2-0DAF1D0A1BA9

7015642B-0704-4BFC-8AB4-8DFD2E83B9B7

: EECDA0AA-0F9E-4E63-9F7C-A4D5788A942E

0ABD8381-70B2-4054-97E9-7DFCBBEF84A7

ป้ายแสดงถึงอันตรายของสารเคมี จะบ่งบอกให้ทราบถึงความรุนแรงของสารเคมี ตามมาตรฐาน NFPA (National Fire Protection Association) ซึ่งป้ายจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม รูปข้าวหลามตัด (diamond sign) แบ่งเป็น 4 ส่วน มองดูเห็นเป็นรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด 4 รูปติดกัน ดังรูป โดยในแต่ละรูปสี่เหลี่ยมเล็ก จะแบ่ง ออกเป็น 4 สี โดย สีแดงอยู่ด้านบนสุด สีน้ำเงินอยู่ด้านซ้าย สีเหลืองอยู่ด้านขวา และสีขาวอยู่ด้านล่างของรูปสี่เหลี่ยม ซึ่งแต่ละสีมีความหมาย ดังแสดงในตาราง

940D0D03-30E0-4B23-94BC-3B9E2B2C800E

สีแดง ความไวไฟสามารถแบ่งออกเป็น 5 ระดับ

3 จุดวาบไฟ ต่ำกว่า 38 องศาเซลเซียส

2 จุดวาบไฟ ต่ำกว่า 93 องศาเซลเซียส

1 จุดวาบไฟ สูงกว่า 93 องศาเซลเซียส

4 จุดวาบไฟ ต่ำกว่า 22 องศาเซลเซียส

0 ไม่ติดไฟ


สีน้ำเงิน ผลของสารเคมี ที่มีต่อสุขภาพ สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ระดับ คือ

0 ปลอดภัย ไม่อันตราย

1 อันตรายน้อย อาจทำให้เกิดการระคายเคือง

2 อันตรายปานกลาง อาจเกิดอันตราย หากสูดหายใจเข้าไป

3 อันตรายสูง ทำให้เกิดการกัดกร่อน หรือเป็นพิษ ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสหรือสูดหายใจเข้าไป

4 อันตรายถึงตาย ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันชนิดพิเศษ

สีเหลือง ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ระดับ คือ

2 : ไวต่อการเกิดปฏิกิริยารุนแรง

3 ความร้อน หรือการกระแทก อาจทำให้เกิดการระเบิดได้

1 อาจเกิดปฏิกิริยา เมื่อโดนความร้อน

4 เกิดระเบิดได้

0
ไม่ไวต่อการเกิดปฏิกิริยา

สีขาว ข้อมูลสำคัญเพิ่มเติม

COR สารมีฤทธิ์กัดกร่อน

OXY สารออกซิไดซ์


ห้ามสัมผัสกับน้ำ โดยเด็ดขาด

☢ สารกัมมันรังสี

ALK สารอัลคาไล

ACID กรด

: E4B48CA3-C64E-435B-A0B5-967D92A4A81B

: 88CEDC39-3C5A-498B-8077-EE80A59A9B34

ข้อควรปฏิบัติหลังและการกำจัดสารเคมีเหลือใช้

ข้อควรปฏิบัติในขณะการทดลองทำปฏิบัติการเคมี

image

🏁 การทดลองจะมีขั้นตอนหลักๆ

3. การบันทึกผลการทดลอง
คือ การจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองเพื่อยืนยันสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้

2. การปฏิบัติการทดลอง 👥
คือ การปฏิบัติตามแผนการทดลองที่ได้ออกแบบไว้และควรทำการทดลองหลายๆครั้งเพื่อยืนยันผลการทดลอง

4. การวิเคราะห์ข้อมูล
คือ ขั้นที่นำข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้า สังเกต ทดลอง หรือรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ผล แล้วนำไปเปรียบเทียบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ เมื่อได้ข้อมูลและวิเคราะห์ผลแล้ว ต่อไปก็คือขั้นตอนการสรุปผล ซึ่งเป็นการนำเอาข้อมูลที่ได้มาพิจารณาว่าผลสรุปที่ได้ตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่ ถ้าตรงกับก็จะกลายเป็นทฤษฎี ซึ่งสามารถนำไปอธิบายข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ต่างๆ ได้

1. การออกแบบการทดลอง 🍾
คือ ขั้นตอนนี้เป็นการวางแผนการทดลองให้สอดคล้องกับสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ เพื่อควบคุมปัจจัยต่างๆที่จะเกิดขึ้นซึ่งจะต้องกำหนดตัวแปรต่างๆ
ได้แก่ : ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และ ตัวแปรควบคุม

image

image

วิธีการรวลรวมข้อมูล 🔒

✒ 3.ดำเนินการรวบรวมข้อมูล

😃 4.นำข้อมูลมาประมวลผล และ วิเคราะห์

🚩 2.เลือกวิธีการเก็บข้อมูล
อาจมาจากการสอบภาม หรือ หาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ

🎉 5.นำเสนอข้อมูลและจัดทำรายงาน
มีหลายวิธี ดังนี้

- กราฟเส้น                                                                           - แผนภูมิวงกลม                                                         -แผนภูมิแท่ง                                                              -แผนภูมิรูปภาพ                                                               -การเขียนตารางผลการทดลอง

🏁 1.กำหนดจุดมุ่งหมายในการรวบรวมข้อมูล

รูปภาพ : Link Title

🍾 การลงข้อสรุป
คือ เป็นการบอกความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและตัวแปรตาม หรือบอกความสัมพันธ์ของข้อมูลอย่างเข้าใจง่ายโดยคลอบคลุมข้อมูลทั้งหมด

🔒 การตีความหมายข้อมูล
คือ การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะข้อมูลที่มีอยู่ การตีความข้อมูลในบางครั้งอาจต้องใช้ทักษะกระบวนการอื่น ๆ ด้วย เช่น ทักษะการสังเกต ทักษะการคำนวณ เป็นต้น

การเขียนรายงาน
คือ คือการเขียนเสนอผลงานอันได้มาจากการศึกษาค้นคว้าพิเศษนอกเหนือจากเรื่องที่ได้ศึกษาเพื่ออธิบายให้ผู้อื่นทราบแนวคิด วิธีการดำเนินงานศึกษาค้นคว้าข้อมูล จนตลอดข้อสรุปและข้อเสนอแนะ โดยรูปแบบของการรายงาน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อหา และส่วนประกอบตอนท้าย

✅ ส่วนประกอบของรายงาน

image

  1. วัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆ
  1. วิธีการดำเนินงาน
  1. สมมุติฐาน และตัวแปรต่างๆ
  1. อภิปราย และ สรุปผลการทดลอง
  1. จุดประสงค์
  1. ปัญหา และ ข้อเสนอแนะ
  1. ชื่อการทดลอง
  1. ผลการทดลอง

image

image

🏴วิธีเทียบหน่วย (factor label method)

  • ให้คูณปริมาณในหน่วยเริ่มต้นด้วยแฟกเตอร์เปลี่ยนด้วยที่มีหน่วยที่ต้องการอยู่ด้านบน



    ปริมาณและหน่วยที่ต้องการ = ปริมาณและหน่วยเริ่มต้น x หน่วยที่ต้องการ/หน่วยเริ่มต้น



Ex. จากความสัมพันธ์พลังงาน 1 cal = 4.2 J


เมื่อใช้ 1 cal หารทั้งสองข้างจะได้เป็น
1 cal/1cal = 4.2 J/1 cal
1 = 4.2 J/1 cal
หรือถ้าใช้ 4.2 J หารทั้งสองข้างจะได้เป็น
1 cal/4.2 J = 4.2 J/4.2 J
1 cal/4.2 J = 1
ดังนั้น พลังงาน 50 cal สามารถเปลี่ยนเป็นหน่วยจูลได้ดังนี้
พลังงาน = 50 cal x 4.2 J/1 cal
= 210 J

image

การวัดปริมาณสาร(ความเที่ยง/ความเเม่น)

อุปกรณ์วัดมวลเเละปริมาตร/หน่วยวัด

อุปกรณ์วัดมวล/หน่วยวัด
เเบ่งเป็น 2 ชนิด สามารถวัดได้ทั้ง
ของเเข็งเเละของเหลว มีหน่วยวัดเป็นกรัม

1.เครื่องชั่งแบบสามคาน (triple beam) 1

2.เครื่องชั่งไฟฟ้า
(electronic balance) 2

ในปฏิบัติการเคมีจำเป็นต้องมีการชั่ง ตวง และวัดปริมาณสาร ซึ่งการชั่ง ตวง วัด มีความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดจากอุปกรณ์ที่ใช้ หรือผู้ทำปฏิบัติการ ความน่าเชื่อถือของข้อมูล สามารถพิจารณาได้จาก 2 ส่วนด้วยกัน คือ ความเที่ยงเเละความเเม่น

    อุปกรณ์วัดปริมาตร/หน่วยวัด               มี 6 ชนิด ซึ่งเเต่ละชนิดมีความคลาดเคลื่อนมากน้อยเเตกต่างกัน

3.กระบอกตวง (measuring cylinder) มีลักษณะเป็นทรงกระบอก มีขีดบอกปริมาตรในระดับมิลลิลิตร มีหลายขนาด 3

  1. ปิเปตต์ (pipette) เป็นอุปกรณ์วัดปริมาตรที่มีความแม่นสูง ซึ่งใช้สำหรับถ่ายเทของเหลว ปิเปตต์ที่ใช้กันทั่วไปมี 2 แบบ คือ แบบปริมาตรซึ่งมีกระเปาะตรงกลาง มีขีดบอกปริมาตรเพียงค่าเดียว และแบบใช้ตวง มีขีดบอกปริมาตรหลายค่า 4
  1. ขวดรูปกรวย (erlenmeyer flask) มีลักษณะคล้ายผลชมพู่ มีขีดบอกปริมาตรในระดับมิลลิลิตร มีหลายขนาด 2

5.บิวเรตต์ (burette) เป็นอุปกรณ์สำหรับถ่ายเทของเหลวในปริมาตรต่าง ๆ ตามต้องการมีลักษณะ
เป็นทรงกระบอกยาวที่มีขีดบอกปริมาตรและมีอุปกรณ์ควบคุมการไหลของของเหลวที่เรียกว่า
ก็อกปิดเปิด
Capture

1.บีกเกอร์(beaker) มีลักษณะเป็นทรงกระบอกปากกว้าง มีขีดบอกปริมาตรในระดับมิลลิลิตร มีหลาย
ขนาด
1

  1. ขวดกำหนดปริมาตร (volumetric flask) เป็นอุปกรณ์สำหรับวัดปริมาตรของของเหลวที่บรรจุ
    ภายใน ใช้สำหรับเตรียมสารละลายที่ต้องการความเข้มข้นแน่นอนมีขีดบอกปริมาตรเพียงขีดเดียว
    มีจุกปิดสนิท ขวดกำหนดปริมาตรมีหลายขนาด
    6

นางสาวขนิษฐจรส ยางทอง ม.4/10 เลขที่ 31

ความเที่ยง คือ ความใกล้เคียงกันในกลุ่มของค่าที่ทำการวัดถ้าเปรียบเทียบกับการยิงปืน ความเที่ยงคือ ความสามารถในการยิงปืนหลายครั้งโดยให้วิถีกระสุนเกาะกลุ่มกัน

ความเเม่น คือ ความใกล้เคียงของค่าที่วัดได้กับค่าจริงถ้าเปรียบเทียบกับการยิงปืน ความแม่นยำหมายถึง ความสามารถในการยิงปืนที่แม่นเข้าเป้าตรงกลาง

3.อุบัติเหตุจากสารเคมี การป้องกันและการปฐมพยาบาล

เมื่อร่างกายสัมผัสสารเคมี

1.ถอดเสื้อผ้าบริเวณที่เปื้อนสารเคมีออก
2.ล้างสารเคมีออก และหากทราบว่าสารเคมีที่สัมผัสร่างกายคือสารใดให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดในเอกสารความปลอดภัยของสารเคมี

ตัวอย่าง

สารเคมีที่ไม่ละลายน้ำ ❎ ล้างด้วยสบู่

ความเที่ยงต่ำ ความแม่นสูง ความเที่ยงต่ำ-ความแม่นสูง

ความเที่ยงสูง ความแม่นสูง ความแม่นสูง-ความเที่ยงสูง

ความเที่ยงสูง ความแม่นต่ำ ความเที่ยงสูง-ความแม่นต่ำ

สารเคมีที่ละลายน้ำได้ ✅ เปิดน้ำให้ไหลผ่านปริมาณมาก โดยใช้น้ำสะอาด เพื่อทำให้สารเคมีเจือจางและขับออก

เมื่อสารเคมีเข้าตา

1.ตะแคงศีรษะโดยให้ตาด้านที่สัมผัสสารเคมีอยู่ด้านล่าง 2.ล้างด้วยน้ำสะอาด โดยเปิดน้ำเบา ๆ ไหลผ่านดั้งจมูกมาเข้าตาข้างที่โดนสารเคมี พยายามลืมตาหรือกรอกตาในน้ำอย่างน้อย15 นาที (ระวังไม่ให้น้ำเข้าตาอีกข้างหนึ่ง) แล้วนำส่งแพทย์ทันที

เมื่อสูดดมแก๊สพิษ

กรณีที่ 3 ในกรณีที่สามารถเคลื่อนย้ายผู้ที่ประสบอุบัติเหตุออกจากห้องที่ีสารเคมีได้แล้ว ให้ทำการปลดเสื้อผ้าเพื่อให้ผู้ประสบอุบัติเหตุหายใจได้สะดวกขึ้น

กรณีที่ 1 รีบออกจากบริเวณนั้น และไปบริเวณ
ที่อากาศถ่ายเทสะดวกทันที

กรณีที่ 2 เคลื่อนย้ายผู้ที่หมดสติ หรือไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ออกจากบริเวณนนั้นทันที

เมื่อรับประทานสารเคมี

เมื่อโดนความร้อน

หากหัวใจหยุดเต้นและหยุดหายใจ
-นวดหัวใจและผายปอด(CPR) โดยผู้ที่ผ่านการฝึก -ไม่ควรเป่าปาก (mouth to mouth) -นำส่งแพทย์ทันที

หากหมดสติ -จับนอนคว่ำ -ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อป้องกันโคนลิ้นกีดขวางทางเดินหายใจ -นำส่งแพทย์ทันที

1.แช่น้ำเย็นหรือปิดแผลด้วยผ้าชุบน้ำจนหายปวดแสบปวดร้อน แล้วทายาขี้ผึ้งสำหรับไฟไหม้และน้ำร้อนลวก 2.หากเกิดบาดแผลใหญ่ให้นำส่งแพทย์

สารเคมีจำพวกน้ำมัน

ลดอัตราการดูดซึมและทำให้สารเคมีเจือจางลง โดยให้ผู้ป่วยรีบดื่มนม หรือไข่ดิบ หรือดื่มน้ำเปล่าทันที แต่ในกรณีที่ผู้ได้รับสารเคมีกำลังชักหรือสลบ อย่าให้ดื่มอะไรทั้งสิ้น เพราะอาจไหลลงหลอดลมทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยได้

เช่น น้ำมันก๊าด น้ำมันเบนซิน ยาฆ่าแมลงชนิดน้ำมัน ทำให้เกิดอาการแสบร้อน คลื่นไส้ อาเจียน และลมหายใจมีกลิ่นน้ำมัน

1.ห้ามทำให้ผู้ป่วยอาเจียน รีบนำตัวส่งโรงพยาบาล 2.ในช่วงระหว่างนำตัวส่งโรงพยาบาล
หากผู้ป่วยอาเจียน ควรจัดศีรษะผู้ป่วยให้อยู่ต่ำ เพื่อป้องกันการสำลักน้ำมันเข้าปอด

ข้อควรปฏิบัติก่อนการทำปฏิบัติการเคมี

อุปกรณ์และความปลอดภัยของห้องปฎิบัติการ

ระบบระบายอากาศ

ตู้ดูดควัน

อ่างล้างตา หรือที่ล้างตัวฉุกเฉิน

อ่างล้างมือ ล้างอุปกรณ์

อุปกรณ์เตือนภัยเมื่อเกิดเหตุไฟไหม้

อุปกรณ์ดับเพลิงและระบบฉีดน้ำ

มีระบบไฟฟ้าที่อยู่ในสภาพดี

มีการต่อสายดินกันไฟฟ้าลัดวงจร

มีระบบตัดไฟอัตโนมัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

มีระบบสายล่อฟ้า

อุปกรณ์ป้องกันร่างกายส่วนบุคคล

เสื้อกาวน์

ผ้ากันเปื้อน

ถุงมือ

รองเท้า

แว่นกันสารเคมี

หน้ากากคลุมหน้า

หน้ากากป้องกันฝุ่นและไอระเหย

ข้อควรปฎิบัติทั่วไป

แต่งกายไม่รุ่มร่าม ไม่สวมเครื่องประดบเดินจำเป็น เก็บหรือรวบผมให้เรียบร้อย

ควรสวมเสื้อกาวน์ในห้องปฎิบัติการ และถอดออกเมื่อออกจากห้อง

มีสมาธิ และตั้งใจปฎิบัติงาน ไม่หยอกล้อกันขณะปฎิบัติงาน

มีความพร้อมในการทำงาน ศึกษาขั้นตอนวิธีการต่างๆมาก่อน

มีความรู้ในการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง

ทำงานอย่างสะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อย

ไม่ควรนำของใช้ส่วนตัวเข้ามาในห้องปฎิบัติการ

ถอดถุงมือก่อนจะจับสิ่งของเครื่องใช้อื่นๆ

ล้างมือก่อนออกจากห้องปฎิบัติการ

ห้ามทำการทดลองนอกเหนือจากที่กำหนดไว้

ห้ามกิน ดื่ม สูบบุหรี่ หรือใช้เครื่องสำอางค์ในห้องปฎิบัติการ

ห้ามเก็บอาหารไว้ในตู้เย็นของห้องปฎิบัติการ

ห้ามนำภาชนะในห้องปฎิบัติการมาใส่อาหาร

ต้องตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี

ข้อตวรปฎิบัติเมื่อใช้สารเคมี

สารเคมีต้องมีลากที่ชัดเจน

อ่านฉลากก่อนใช้

ไม่สัมผัสหรือชิมสารเคมี

ไม่ดมสารเคมีโดยตรง ให้ใช้มือพัดไอสารเคมีมาที่จมูกแทน

เตรียมหรือรินสารเคมีที่มีควันหรือไอ ในตู้ดูดควัน

ไม่เทสารเคมีอันตรายลงท่อน้ำทิ้ง

การจัดเก็บสารเคมี

สารไวไฟ

เก็บในภาชนะความจุต่ำกว่า20ลิตร

เก็บในห้องปฎิบัติการได้ไม่เกิน 50ลิตร

เก็บห่างจากแหล่งกำเนิดความร้อน

สารกัดกร่อน

ห้ามเก็บในที่สูงเกินระดับสายตา

เก็บในถาดพลาสติกกันรั่วไหล

สารไวต่ปฏิกิริยา

เก็บแยกจากสารอื่น

เก็บห่างจากแหล่งกำเนิดความร้อน แหล่งกำเนิดไฟ

ควรติดป้ายเตือน เช่น”สารไวต่อปฏิกิริยา”

ข้อควรปฎิบัติในการดูแลห้องปฎิบัติการ

ควรรักษาความสะอาดพื้นเป็นประจำ

เก็บสารเคมีในที่จัดเก็บไม่วางตามทางเดิน

เก็บสารเคมีเข้าที่ทุกครั้งที่ใช้เสร็จ

ทิ้งขยะและของเสียในภาชนะที่จัดเตรียมไว้

หากเครื่องแก้วแตกควรทิ้งแยกจากขยะอื่น

ของเสียสารเคมีแยกเก็บให้ถูกต้องตามระบบ

D5791DDD-8B66-4F4C-85FC-39C0430047EA

11E36023-CAAB-4DA2-BF93-8657CDBDD5FF

484ED39D-1F22-4754-B64F-0E31A0A90487

0850ECCB-7D7D-4BB2-9639-B80A3CF788DB

ทำให้อาเจียนโดยใช้นิ้วแหย่เพดานคอ หรือให้ดื่มน้ำเกลืออุ่นจัดๆ (ผสมเกลือ1ช้อนโต๊ะกับน้ำ1แก้วประมาณ250cc.) หรือทั้งดื่มและล้วงคอ ถ้าผู้ป่วยมีอาการชักหรือสลบ ต้องระวังอย่าให้มีเศษอาหารทะลักเข้าไปในหลอดลมเด็ดขาด

BDD4B315-B5E8-4993-B6CE-6111C0738F96

C981F592-F2D1-4532-8E5C-9D0512B825D7

C01BBBE2-F6D3-4A7C-A4F4-334649BF43A7

5AC53CA5-0D47-42D7-B762-69050C047869

ในกรณีที่ดื่มกรดให้ดื่มน้ำปูนใสแล้วดื่มนมเพื่อลดการระคายเคืองก่อนค่อยทำให้อาเจียน หากไม่ทำแบบนี้จะเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินอาหารช่วงต้น (ช่วงหลอดอาหาร ลำคอ ล้น ปาก )

ถ้าดื่มสารเคมีที่เป็นด่างให้ดื่มน้ำผลไม้ เช่นน้ำส้ม หรือน้ำผสมน้ำส้มสายชูเล็กน้อยเพื่อปรับค่า ph ของเคมี แล้วค่อยดื่มนมหรือ ไข่ตีก่อนทำให้อาเจียน

ให้ยาถ่าย เพื่อช่วยขับสารพิษออกทางลำไส้ ย่าถ่ายที่เหมาะสมที่สุดได้แก่ โซเดียมซัลเฟต ดีเกลือ น้ำมันละหุ่ง

image

image

image

image

image

image

image

นางสาวพรรณนภัส ฉะฉิ้น ม.4/10 เลขที่ 17

นางสาวโมนิกา ไวปรีชา ชั้นม.4/10 เลขที่32

นางสาวโรสลีญา เหมรัญ ม.4/10 เลขที่ 20

นางสาวณญาดา จิตมณี ม.4/10 เลขที่ 15

นางสาวสุไรยา ปาลาเร่ ม.4/10 เลขที่ 36