Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:check:ความปลอดภัยและทักษะในการปฏิบัติการเคมี🥽, หลักการพิจารณาจำนวนเลขนัย…
:check:ความปลอดภัยและทักษะในการปฏิบัติการเคมี🥽
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
( Scientific Method ) :female-scientist::skin-tone-2:
3. ขั้นตรวจสอบสมติฐาน
คือตรวจสอบสมมติฐาน ในการตรวจสอบสมมติฐานจะต้องยึดข้อกำหนดสมมติฐานไว้เป็นหลักสำคัญเสมอ กระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ผู้ทดลองทางวิทยาศาสตร์ ผู้ทดลองจะต้องควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการทดลอง เรียกว่า
ตัวแปร (Variable)
คือสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการทดลอง
ตัวแปรตาม
:
ผลของตัวแปรต้น
ตัวแปรควบคุม
:
สิ่่งที่นอกเหนือจากตัวแปรต้น ที่มีผลต่อการทดลอง
ตัวแปรต้น
:
สาเหตุ
เลขที่27 ม.4/10
หมายถึง กระบวนการที่เป็นแบบแผนมีขั้นตอนที่สามารถปฏิบัติตามได้ โดยขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ที่เป็นเครื่องมือสำคัญของนักวิทยาศาสตร์
4.ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
คือ เป็นขั้นที่นำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การค้นคว้า การทดลอง หรือการรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริง มาทำการวิเคราะห์ผล อธิบายความหมายของข้อเท็จจริง แล้วนำไปเปรียบเทียบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ว่าสอดคล้องกับสมมติฐานข้อไหน
2.ขั้นตั้งสมมติฐาน
คือ การคาดคะเนคำตอบล่วงหน้าก่อทำการทดลอง อาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิม คำตอบที่คิดไว้ล่วงหน้านี้เป็นสิ่งที่ยังไม่เป็นหลักการหรือทฤษฎีมาก่อน
1.ขั้นกำหนดปัญหา
คือ การกำหนดเรื่องที่เราจะศึกษาเป็นสิ่งที่เราสงสัยอยากรู้และจะต้องคำนึงว่าปัญหาเกิดขึ้นได้อย่างไร ปัญหาเกิดจากการสังเกต การสังเกตเป็นคุณสมบัติของนักวิทยาศาสตร์ การสังเกตอาจจะเริ่มจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา
5.ขั้นสรุปผล
คือ เป็นขั้นสรุปผลที่ได้จากการทดลอง การค้นคว้ารวบรวมข้อมูล สรุปข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือการทดลองว่าสมมติฐานข้อใดถูก โดยต้องอาศัยทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
นิยามเชิงปฏิบัตรการ
คือการกำหนดความหมายและขอบเขตของคำต่างๆชัดเจน สามารถสังเกต วัด และทดสอบได้
นิยามทั่วไป
คือ การให้คำจำกัดความ ความหมายคำต่างๆให้ชัดเจน แต่ไม่สามารถสังเกต วัด หรือตรวจสอบได้
วิดิโอเพิ่มเติม :explode:
https://youtu.be/eG08_7j2FIE
เลขนัยสำคัญ/ แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย
แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย
แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย (conversion factor) เป็นอัตราส่วนซึ่งได้จากการ เปรียบเทียบความสัมพันธ์ของหน่วยที่เกี่ยวข้อง ทั้งที่มีปริมาณอยู่ในมิติเดียวกันแต่มีหน่วย ต่างกันหรือมีปริมาณอยู่ต่างมิติกันก็ได้ โดยข้อมูลเชิงปริมาณทั้งหมดที่จะนำมาสัมพันธ์ กันต้องเป็นข้อเท็จจริง
https://www.youtube.com/watch?v=6ufhVtmfC5w
วิธีการเทียบหน่วย (Factor-label method)
ปริมาณและหน่วยที่ต้องการ = ปริมาณและหน่วยที่กำหนด x แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย
เลขนัยสำคัญ
ตัวเลขที่ได้จากการวัดโดยตรงหรือผลที่คํานวณมาจากการวัดเรียกว่าเลขนัยสําคัญ(significant figure)ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขที่แสดงความแน่นอนรวมกับตัวเลขที่แสดงความไม่แน่นอน
การบวกและการลบเลขนัยสำคัญ
ให้บวกลบข้อมูลตามปกติ แล้วเมื่อได้ผลลัพธ์ให้บันทึกโดยมีจำนวนตำแหน่งทศนิยมเท่ากับตำแหน่งทศนิยมของข้อมูลหลักที่มีจำนวนตำแหน่งทศนิยมน้อยที่สุด
การคูณและการหารเลขนัยสำคัญ
ให้คูณ-หารข้อมูลตามปกติ แล้วเมื่อได้ผลลัพธ์ให้บันทึก โดยมีจำนวนค่านัยสำคัญเท่าจำนวนค่านัยสำคัญของข้อมูลหลักที่มีจำนวนค่านัยสำคัญน้อยที่สุด
https://www.youtube.com/watch?v=8dDzVzWm3vE
ฉลากข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยของสารเคมีในระบบ GHS และระบบ NFPA :microscope:
ระบบ GHS
GHS (The Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals)
สัญลักษณ์แสดงความอันตราย (Hazard pictogram) ตามระบบากล GHS
ได้กำหนดไว้เป็นอันตราย 3 ประเภท แบ่งได้ 9 รูป
อันตรายด้นสิ่งแวดล้อม
สารที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ(Environmental Hazard)
อันตรายด้านกายภาพ
วัตถุระเบิด(Explosive)
ก๊าซบรรจุภายใต้ความดัน(Compressed Gas)
สารไวไฟ(Flammable)
สารออกซิไดส์(Oxidizing)
อันตรายด้านสุขภาพ
สารที่มีพิษเฉียบพลัน อันตรายถึงชีวิต(Toxic)
สารระคายเคือง(Harmful)
สารกัดกร่อน, มีพิษต่อดวงตาและผิวหนัง(Corrosive)
สารที่เป็นพิษต่อสุขภาพ, สารก่อมะเร็ง(Health Hazard)
Link Title
เป็นระบบการจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์เคมีและการติดฉลากที่องค์การสหประชาชาติได้กำหนดขึ้น เพื่อให้เป็นระบบสากลในการจําแนกหรือการจัดกลุ่มความเป็นอันตรายและการสื่อสารความเป็นอันตรายของสารเคมี ในรูปแบบของการแสดงฉลากและเอกสารข้อมูลความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี (Safety Data Sheet, SDS) ที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet-SDS) จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับสารเดี่ยวหรือสารผสม เพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบกิจการทั้งผู้ว่าจ้างและผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลเฉพาะด้านของความเป็นอันตรายทางกายภาพ เคมี สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม และใช้เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับมาตรการด้านความปลอดภัยสำหรับการจัดการสารเคมีอันตรายในสถานประกอบกิจการ เพื่อความปลอดภัยในการใช้ การเก็บรักษา การขนส่ง การกำจัด และการจัดการอื่น ๆ เพื่อให้การปฏิบัติงาน และการจัดการสารเคมีเป็นไปอย่างถูกต้องปลอดภัย และสามารถตอบโต้เหตุฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุหรือเกิดการรั่วไหลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ระบบ NFPA
NFPA
(The National Fire Protection Association)
เป็นระบบที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา กำหนดสัญลักษณ์แสดงอันตรายเป็นรูปเพชร (Diamond-shape) เพื่อใช้ในการป้องกันและตอบโต้เหตุเพลิงไหม้ สัญลักษณ์ดังกล่าวมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่วางตั้งตามแนวเส้นทแยงมุม ภายในแบ่งออกเป็นสี่เหลี่ยมย่อย ขนาดเท่ากัน 4 รูป ใช้พื้นที่กำกับ 4 สี
สีแดง แสดงอันตรายจากไฟ (Flammability)
สีน้ำเงิน แสดงอันตรายต่อสุขภาพ (Health)
สีเหลือง แสดงความไวต่อปฏิกิริยาของสาร (Reactivity)
สีขาวแสดงคุณสมบัติพิเศษของสาร
Link Title
ใช้ตัวเลข 0 ถึง 4 แสดงถึงระดับอันตราย
https://youtu.be/GAjc-b4FwJs
ข้อควรปฏิบัติในการทำปฏิบัติการเคมี :explode:
ข้อควรทราบขณะปฏิบัติการทดลอง :black_flag:
ศึกษาขั้นตอนหรือวิธีการทําปฏิบัติการให้เข้าใจ วางแผนการทดลอง หากมีข้อสงสัยต้องสอบถามครูผู้สอนก่อนที่จะทําการทดลอง
ศึกษาข้อมูลของสารเคมีที่ใช้ในการทดลองเทคนิคการใช้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนวิธีการทดลองที่ถูกต้องและปลอดภัย
แต่งกายให้เหมาะสม
ข้อควรทราบในการกำจัดสารเคมี :black_flag:
ชนิดของสาร
ฺของเหลวที่ไม่อันตราย
ละลายน้ำได้
pH เป็นกลาง
ปริมาตรไม่เกิน 1 ลิตร
ชนิดของสาร
สารละลายเข้มข้นบางชนิด เช่นกรดไฮโดรคลอริก โซเดียมไฮดรอกไซด์
ชนิดของสาร
สารเคมีที่เป็นของแข็งไม่อันตราย ปริมาณไม่เกิน 1 กิโลกรัม
วิธีกำจัด
ใส่ในภาชนะที่ปิดมิดชิด
ติดฉลากชื่อให้ชัดเจนก่อนทิ้งในที่ซึ่งจัดเตรียมไว้
ชนิดของสาร
สารที่ทำปฏิกิริยากับน้ำ
ตัวทำละลายที่ไม่ละลายน้ำ
สารไวไฟ
สารประกอบของโลหะเป็นพิษ
วิธีกำจัด
ให้ทิ้งไว้ในภาชนะที่ทางห้องปฏิบัติการเตรียมไว้ให้
วิธีกำจัด
สามารถเทลงอ่างน้ำ และเปิดน้ำตามากๆ
วิธีกำจัด
สามารถเทลงอ่างน้ำ และเปิดน้ำตามมากๆ
ข้อควรทราบหลังปฏิบัติการทดลอง :black_flag:
1.ถอดเสื้อคลุม แว่นตานิรภัยและ
ถุงมือก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ
2.ทำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องแก้ว และเก็บไว้ในบริเวณที่จัดเตรียมไว้ให้
3.ทำความสะอาดโต๊ะ
ปฏิบัติการให้เรียบร้อย
ข้อควรทราบขณะปฏิบัติการทดลอง :black_flag:
1.สวมผ้าปิดปากเมื่อต้องใช้สารเคมีที่มีไอระเหย
2.สวมแว่นตานิรภัยในขณะปฏิบัติการทดลอง
3.หลีกเลี่ยงการสวมใส่
เครื่องประดับ
4.สวมเสื้อคลุมปฏิบัติการ
ที่ติดกระดุมทุกเม็ด
ข้อกำหนดขณะทำปฏิบัติการ
:warning:ไม่ทำการทดลองในห้องปฏิบัติการตามลำพังและทำตามขั้นตอนการทดลองอย่างเคร่งครัด
:warning:อ่านชื่อบนฉลากก่อนนำ
สารเคมีไปใช้ทุกครั้ง
:warning:ห้ามรับประทานอาหาร
และเครื่องดื่ม
https://youtu.be/3kbO3Qf9_Lo
วิดิโอเพิ่มเติมในการศึกษา
https://youtu.be/cwX_XreZWuE
เลขที่ 28 ม.4/10
🚨อุบัติเหตุจากสารเคมี การป้องกันและการปฐมพยาบาล
📢การป้องกันและการปฐมพยาบาล🚑
เมื่อสารเคมีเข้าตา
1.ตะแคงศีรษะโดยให้ตาด้านที่สัมผัสสารเคมีอยู่ด้านล่าง
2.เปิดน้ำเบา ๆ ไหลผ่านดั้งจมูกมาเข้าตาข้างที่โดนสารเคมี พยายามลืมตาหรือกรอกตาในน้ำอย่างน้อย10 นาที (ระวังไม่ให้น้ำเข้าตาอีกข้างหนึ่ง) แล้วนำส่งแพทย์ทันที
เมื่อสูดดมแก๊สพิษกรณีที่ 1
รีบออกจากบริเวณนั้น และไปบริเวณ
ที่อากาศถ่ายเทสะดวกทันที
เมื่อร่างกายสัมผัสสารเคมี
ถอดเสื้อผ้าบริเวณที่เปื้อนสารเคมีออก
ล้างสารเคมีออก และหากทราบว่าสารเคมีที่สัมผัสร่างกายคือสารใดให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดในเอกสารความปลอดภัยของสารเคมี
เมื่อสูดดมแก๊สพิษกรณีที่ 2
เคลื่อนย้ายผู้ที่หมดสติ หรือไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ออกจากบริเวณนั้นทันที
เมื่อสูดดมแก๊สพิษกรณีที่ 3
ในกรณีที่สามารถเคลื่อนย้ายผู้ที่ประสบอุบัติเหตุออกจากห้องที่มีสารเคมีได้แล้ว ให้ทำการปลดเสื้อผ้าเพื่อให้ผู้ประสบอุบัติเหตุหายใจได้สะดวกขึ้น
โดนความร้อน
แช่น้ำเย็นหรือปิดแผลด้วยผ้าชุบน้ำจนหายปวดแสบปวดร้อน แล้วทายาขี้ผึ้งสำหรับไฟไหม้และน้ำร้อนลวก
หากเกิดบาดแผลใหญ่ให้นำส่งแพทย์
🥽อุบัติเหตุจากสารเคมี🥼
สารเคมีเข้าตา
ร่างกายสัมผัสโดนสาร
สูดดมแก๊สพิษ
โดนความร้อน
สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ดังนี้ :check:
🥽อุบัติเหตุจากสารเคมี🥼
http://thn25497ch.blogspot.com/p/12.html
https://youtu.be/iVhNMfVrUkY
📢การป้องกันและการปฐมพยาบาล🚑
http://www.shawpat.or.th/index.php?
https://youtu.be/UYYqJd5aI5c
การวัดปริมาณสาร🧪
อุปกรณ์วัดมวล และปริมาตร / หน่วยวัด
การวัดปริมาณสาร
พิจารณา 2ส่วน
•ความแม่น (accuracy) คือ ความใกล้เคียงของค่าเฉลี่ยจากการวัดซ้ำเทียบกับค่าจริง
[ความแม่นสูง ค่าเฉลี่ยใกล้เคียงค่าจริง]
[ความแม่นต่ำ ค่าเฉลี่ยไม่ใกล้เคียงค่าจริง]
•ความเที่ยง (precision) คือ ความใกล้เคียงกันของ ค่าที่ได้จากการวัดซ้ำ
[ความเที่ยงสูง ข้อมูลกระจายตัวน้อย]
[ความเที่ยงต่ำ ข้อมูลกระจายตัวมาก]
https://youtu.be/Gwxpf2eztys
https://www.scimath.org/e-books/9946/flippingbook/index.html#thumb_1
อุปกรณ์วัดมวล
เครื่องชั่ง
:วัดมวลของสารทั้งของแข็ง และของเหลว
เครื่องชั่งแบบสามคาน
เครื่องชั่งไฟฟ้า
อุปกรณ์วัดปริมาตร
วัดปริมาตรสารเคมีที่เป็นของเหลว
บีกเกอร์ (beaker)
:ทรงกระบอกปากกว้าง มีขีดบอกปริมาตรระดับมิลลิลิตร
ขวดรูปกรวย/ขวดรูปชมพู่ (Erlenmeyer flask)
:คล้ายผลชมพู่ มีขีดบอกปริมาตรระดับมิลลิลิตร
กระบอกตวง (measuring cylinder)
:ทรงกระบอก มีขีดบอกปริมาตรระดับมิลลิลิตร
ปิเปตต์ (pipette)
:มีความแม่นสูง ใช้ถ่ายเทของเหลว
บิวเรตต์ (burette)
:ถ่ายเทของเหลว เป็นทรงกระบอกยาว มีก๊อกปิดเปิด
ขวดกำหนดปริมาตร (volumetric flask)
:วัดของเหลวที่อยู่ภายใน มีขีดบอกปริมาตรขีดเดียว มีจุกปิดสนิท ใช้เตรียมสารละลายที่ต้องการความเข้มข้นแน่นอน
หน่วยวัด
https://youtu.be/9tEiLJPxZaE
หน่วยฐาน (Base Units)เป็นหน่วยหลักของเอสไอ 7หน่วย
หน่วยอนุพัทธ์ (Derived Units) เป็นหน่วยซึ่งมีหน่วยฐานหลายหน่วยมาเกี่ยวข้องกัน
หลักการพิจารณาจำนวนเลขนัยสำคัญ
ค่าคงที่ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นค่าคงที่ที่เป็นสัญลักษณ์อย่างเดียวหรือมีตัวเลขแสดงอยู่ด้วย ทั้งในสูตร และสมการ ไม่ให้นับเป็นเลขนัยสำคัญ เช่น 2Cl2 หรือ 2¶r เป็นต้น
เลขทุกตัวที่ไม่ใช่ 0 คือ เลข 1-9 ไม่ว่าอยู่ตำแหน่งใดให้นับเป็นเลขนัยสำคัญ เช่น 135 จะนับเลขนัยสำคัญได้ 3 ตัว
เลข 0 ในกรณีต่อไปนี้
– เลข 0 ทุกตัวที่อยู่ด้านหน้าเลข 1-9 ไม่ต้องนับเป็นเลขนัยสำคัญ เช่น 0.001 จะนับเลขนัยสำคัญได้ 1 ตัว คือ เลข 1 เท่านั้น เพราะเลข 0 ทั้งหมดแสดงถึงการตรวจไม่พบหรือไม่มีค่าอยู่จริง
– เลข 0 ทุกตัวที่อยู่ระหว่างเลข 1-9 ให้นับทุกตัวเป็นเลขนัยสำคัญ เช่น 1.0005 จะนับเลขนัยสำคัญได้ 5 ตัว เพราะนับเลข 0 จำนวน 3 ตัว ร่วมกับเลข 1 และเลข 5 ด้วย
– เลข 0 ทุกตัวที่อยู่หลังจุดทศนิยมให้นับเป็นเลขนัยสำคัญ เช่น 0.0500 จะนับเลขนัยสำคัญได้ 4 ตัว เพราะนับเลข 0 จำนวน 3 ตัว จากหลังจุดทศนิยม ร่วมกับเลข 5 จำนวน 1 ตัว
– เลข 0 ที่อยู่หลังเลขจำนวนเต็ม หรือ ที่เป็นตัวเลขไม่มีจุดทศนิยม อาจนับหรือไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญก็ได้ เช่น เครื่องมือวัดบอกค่าที่วัดได้เป็น 1100 ซึ่งหากนับเลขนัยสำคัญก็จะได้เลขนัยสำคัญจำนวน 4 ตัว คือ นับทุกตัวเลข หรือ 2 ตัว คือ นับเฉพาะเลข 1 ก็ได้ แต่หากต้องการสื่อให้นับเป็นเลขนัยสำคัญทุกตัวเลข ก็ให้เขียนตัวเลขในเชิงสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ เป็น 1.1 x 103 คือ ให้นับเลขนัยสำคัญเป็น 4 ตัว
หมายเหตุ
การปัดเศษของจำนวน ถ้ามีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 5 ตัวเลขที่อยู่หน้าให้ปัดค่าเพิ่มอีกหนึ่งค่า และ ถ้ามีค่าน้อยกว่า 5 ให้ปัดเศษทิ้ง
เลขที่ 26 ม.4/10
เลขที่ 30 ม.4/10
เลขที่ 29 ม.4/10
เลขที่34 ม.4/10
ps.i'm left