Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต,…
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต
และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
การแจ้งข่าวร้าย
ข่าวร้าย คือข้อมูลที่ทำให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง มีผลกระทบต่อความรู้สึก
ข้อมูลที่เป็นข่าวร้าย
ความพิการ
การสูญเสียภาพลักษณ์
กลับเป็นซ้ำของโรค
โรครุนแรง
การไม่ตอบสนองต่อการรักษา
เสียชีวิต
ผู้แจ้งข่าวร้าย
แพทย์เจ้าของไข้ ทีมรักษาผู้ป่วย และทีม Palliative care
ได้รับการฝึกฝนและมีประสบการณ์ มีข้อมูลชัดเจน
ไม่แจ้งกรณีผู้ป่วยเป็นเด็ก เป็นโรคทางจิต และผู้ป่วยมีแนวโน้มจะทำร้ายตนเอง
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะต่อรอง (Bargaining)
การต่อรองมักจะแฝงด้วยความรู้สึกผิด
จะต่อรองกับตัวเอง คนรอบข้าง หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์
“อยากเห็นลูกเรียนจบก่อน”
"ขอย้ายโรงพยาบาลได้ไหม"
ระยะซึมเศร้า (Depression)
ออกห่างจากสังคม รอบข้าง เบื่อหน่าย เก็บตัว ไม่ค่อยพูดคุย ถามคำตอบคำ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม หรืออาจร้องไห้
มีการบกพ่องในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและการทำงาน
ระยะโกรธ (Anger)
อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน
“ไม่ยุติธรรมเลย ทำไมต้องเกิดกับเรา”
ระยะยอมรับ (Acceptance)
มองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น ปรับตัว และเรียนรู้เพื่อให้ดำเนินชีวิตต่อไปได้
ระยะปฏิเสธ (Denial)
ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้
ไม่ยอมรับความจริง ไม่เชื่อผลการรักษา
“ไม่จริงใช่ไหม”
บทบาทพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดี สอบถามความรู้สึกและความต้องการช่วยเหลือ
รับฟังและเปิดโอกาสให้ซักถาม
ช่วยเหลือประคับประคองจิตใจ
ยอมรับพฤติกรรมทางลบ
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดำเนินโรค แนวทางการรักษา
ให้ข้อมูลที่เป็นความจริง และอาการที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
ให้ความหวังตามจริง และสะท้อนคิดให้ครอบครัวตามสถานการณ์ปัจจุบัน
ทำหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้อง ปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับประโยชน์ และปกป้องศักดิ์ศีรความเป็นมนุษย์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
สัมพันธภาพทางสังคมไม่เหมาะสม เนื่องจากไม่สามารถยอมรับความเจ็บป่วยรุนแรงได้
มีภาวะซึมเศร้าเนื่องจากไม่สามารถแสดงบทบาทหัวหน้าครอบครัวได้
มีความเครียดสูงเนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายแรง
ไม่สามารถยอมรับสภาพความเป็นจริงเมื่อถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
หมดกำลังใจในการต่อสู้กับโรคที่เป็นเนื่องจากไม่มีความหวังในการรักษา
ท้อแท้ ผิดหวังต่อโชคชะตาเนื่องจากคิดว่าถูกพระเจ้าลงโทษหรือไม้ได้รับความช่วยเหลือจากสิงศักดิ์สิทธิ์
กลัวตาย
การเผชิญปัญหาและการปรับตัวของครอบครัวไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากครอบครัวต้องเผชิญกับการเจ็บป่วยรุนแรงของผู้ป่วย
เศร้าโศกทุกข์ใจเนื่องจากสูญเสียบุคคลที่มีความสำคัญต่อตน
หวาดกลัวต่อสิ่งต่างๆเนื่องจากขาดสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต
หออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติหรือไอซียู
เพิ่มโอกาสรอดชีวิตให้สูงขึ้น
ให้ผู้ป่วยกลับไปดำรงชีวิตได้ดังเดิม
เพื่อให้ผู้ป่วยรอดพ้นภาวะวิกฤต
มโนทัศน์เกี่ยวกับการเจ็บป่วย
ภาวะใกล้ตาย
เข้าสู่ช่วงใกล้เสียชีวิต คะแนนPPS<30
การดูแลแบบประคับประคอง
การยอมรับสภาวะที่เกิดขึ้น และยอมให้ผู้ป่วยเสียชีวิตตามธรรมชาติ
การเจ็บป่วยระยะท้าย
ภาวะความเจ็บป่วยที่คุกคามต่อชีวิต การทำหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายไม่สามารถกลับคืนสู่ภาวะปกติ
การดูแลระยะท้าย
การดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะท้ายของโรคโดยใช้หลักการดูแลแบบประคับประคอง
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวคิดการดูแลแบบประคับประคอง
แบบองค์รวมโดยครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน โดยยึดตามความเชื่อทางด้านศาสนา วัฒนธรรม โดยมีผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญและผ่านพ้นช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิตอย่างสงบ สบาย พร้อมด้วยศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
แนวคิดการดูแลตามทฤษฎีความสุขสบาย
บรรเทา (relief)
ความสงบ ผ่อนคลาย (ease)
อยู่เหนือปัญหา (transcendence)
กิจกรรมการดูแลที่ส่งเสริมความสุขสบาย
มาตรฐานการพยาบาลเพื่อความสุขสบาย เพื่อรักษาความสมดุลของร่างกาย ควบคุมการปวด
การสอน แนะนำ เป็นพี่เลี้ยง
อาหารด้านจิตวิญญาณ
การดูแลแบบประคับประคองมุ่งให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบหรือ ตายดี
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Professional culture บุคลากรรักษาผู้ป่วยเพื่อมุ่งให้มีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤต การตายของผู้ป่วยอาจทำให้ทีมสุขภาพรู้สึกว่าเป็นความล้มเหลว
ความคาดหวังสูงว่าจะดีขึ้นจากภาวะเจ็บป่วยที่รุนแรง
ความไม่แน่นอนของอาการ
Multidisciplinary team
ผู้ป่วยมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
ทรัพยากรมีจำกัด
สิ่งแวดล้อมพลุกพล่าน วุ่นวาย มีเสียงสัญญาณเตือน ไม่เหมาะกับการเป็นสถานที่สุดท้ายก่อนผู้ป่วยจากไป
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้น ๆ มาร่วมดูแลในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
การดูแลแบบผสมผสาน
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต
สนับสนุนให้มีการทำ Family meeting เพื่อทราบ
ความต้องการและสื่อสารกับผู้ป่วยและครอบครัว
หลักการพยาบาลดูแลผู้ป่วยระยะใกล้ตาย
จัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
อาการปวด ดูแลให้ผู้ป่วยกินยาต่างๆได้ครบถ้วน
อาการท้องผูก จัดอาหารให7มีใยอาหาร ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
เบื่ออาหาร จัดอาหารที่ย่อยง่ายครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง จัดสิ่งแวดล้อม ให้ผ่อนคลาย
ปากแห้ง ดูแลทำความสะอาดในช่องปากทุกวัน
ท้องมาน ให้ผู้ป่วยนอนในท่าศีรษะสูง
อาการไอ ระวังการสำลักขณะได้รับอาหาร
หายใจลำบาก ให้ผู้ป่วยพักให้ทำศีรษะสูง ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ จัดหาอุปกรณ์ให้ผู้ป่วยปัสสาวะได้สะดวก
อาการบวม ดูแลอย่าให้เกิดแผลต่างๆ
อาการคัน ให้ผู้ป่วยตัดเล็บสั้น หลีกเลี่ยงการเกา
เกิดแผลกดทับ พลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง
การดูแลทั่วไป
งดการรบกวนผู้ป่วย
การสื่อสาร
ลดความไม่สุขสบายใจ ลดการเกิดความไม่พอใจของครอบครัว เพิ่มความเพิ่งพอใจในการให้บริการ
ดูแลด้านอารมณ์และสังคม
ช่วยให้จิตใจจดจ่อกับสิ่งดีงาม
ปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
แนะนำผู้ป่วยให่ปล่อยวาง
สร้างบรรยากาศที่สงบ
ดูแลด้านจิตวิญญาณ
ประเมิน สอบถาม สนับสนุนและส่งเสริมด้านจิตวิญญาณตาามความเชื่อ
ดูแลให้ได้รับการประชุมครอบครัว
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต
ทำการปลดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่าง ๆ
ยุติการเจาะเลือด
ควรปลดประตูหรือปิดม่านให้มิดชิด
ทำความสะอาดใบหน้า ช่องปาก และร่างกายผู้ป่วย
ยุติการรักษาที่ไม่จำเป็น
นำสายต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นออก
ให้คงไว้เพียงการรักษาที่มุ่งเน้น
ให้คุมอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
ควรทำการยุติการให้ผู้ป่วยได้รับยาหย่อนกล้ามเนื้อ
ให้ยาที่มักจำเป็นต้องได้ เช่น มอร์ฟิน
อธิบายครอบครัวถึงอาการต่าง ๆ
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
ดูแลให้ครอบครัวเข้าใจถึงการวางแผนดูแลล่วงหน้า (ACP)
Living will หรือ พินัยกรรมชีวิต
Proxy คือ บุคคลใกล้ชิดที่ผู้ป่วยมอบหมายให้มีอำนาจตัดสินใจแทนในวาระสุดท้ายของชีวิต
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วย
อย่างต่อเนื่อง
ไม่ควรพูด
"ไม่เป็นไร"
"ไม่ต้องร้องไห้"
หลักการพยาบาลดูแลผู้ป่วยระยะใกล้ตาย
การประเมินสภาพ
ด้านจิตใจ
ภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล สับสน
ด้านสังคม
บทบาทของผู้ป่วยในครอบครัว ความรักความผูกพันของผู้ป่วยกับสมาชิกในครอบครัว ความต้องการของครอบครัว ผู้ดูแลผู้ป่วย ที่อยู่ และครือข่ายทางสังคม
ด้านร่างกาย
อาการปวด อ่อนแรงหรือเหนื่อยล้า ปากแห้ง และปัญหาของผิวหนัง
ด้านจิตวิญญาณ
ปรัชญาชีวิต คุณค่าทางด้านจิตใจ ความเชื่อทางศาสนา
การประเมินระดับ PPS
เพื่อสื่อสารอาการปัจจุบันของผู้ป่วย
เพื่อประเมินพยากรณ์โรคอย่างคร่าวๆ และติดตามผลการรักษา
ใช้เป็นเกณฑ์การับเลือกผู้ป่วยเพื่อดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ใช้บอกความยากของภาระงานของบุคลากรทางการแพทย์
ใช้ในการวิจัย
ประเด็นจริยธรรมที่สำคัญในการพยาบาล
การยืดหรือการยุติการรักษาที่ยืดชีวิต
ยับยั้งการใช้เครื่องมือช่วยชีวิต
เพิกถอนการใช้เครื่องมือช่วยชีวิต
การฆ่าตัวตายโดยความช่วยเหลือของแพทย์
การุณยฆาต หรือปราณีฆาต หรือเมตตามรณะ
โดยความสมัครใจ
ผู้ป่วยร้องขอให้ยุติการ
รักษาพยาบาล
โดยผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้เอง
ปล่อยให้เกิดการตายตามธรรมชาติ
ข้อพิจารณา
เมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะเจ็บปวดทรมานอย่างแสนสาหัส
สิทธิส่วนบุคคลที่จะยุติชีวิตลง
บุคคลไม่ควรจะถูกบังคับให้ยืดชีวิตออกไปในสภาพที่ช่วยตนเองไม่ได้และไร้การรับรู้ทางสมอง
การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำนวนจำกัด
การบอกความจริง
การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางจริยธรรม
ให้ความรู้แก่พยาบาล
จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของพยาบาล
เคารพการทำงานของทีมสุขภาพซึ่งกันและกัน
นางสาวภัณฑิรา ประนันท์ 6101210798