Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะ Hyperemesis Gravidarum, Diagnosis, ภาวะขาดน้ำ, ความผิดปกติของสมดุลกรด…
ภาวะ Hyperemesis Gravidarum
Pathophysiology & Cause
Psychological factor
เครียด วิตกกังวล
ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
H. pylori in infection
hCG สูง
ระดับ pH เปลี่ยนแปลง
เกิดความผิดปกติของการบีบตัวของระบบทางเดินอาหาร
Hormonal factor
hCG สูง
Prolactin สูง
Estradiol สูง
Sign &symptom
Early stage
Normal activity ลดลง
อาหารกระตุ้นอาการ N/V
ภาวะโภชนาการปกติ :check:
ผลการตรวจร่างกายปกติ :check:
Lab ปกติเเละ UA ปกติ :check:
Late stage
Heart burn, Epigastric pain :star:
น้ำหนักลด 5 -10% :star:
Dehydration : มีไข้ +ชีพจรเร็ว +BP ต่ำ :star:
Poor skin turgor
หิวน้ำ อ่อนเพลีย ริมฝีปากแห้งแตกเป็นเเผล
ลิ้นเป็นฝ้า
Hypovolemia : ปัสสาวะลดลง+ซึม+ไม่รู้สึกตัว+Metabolic acidosis :fire:
Korsakoff’s syndrome :explode:
ภาวะเเทรกซ้อนของโรค
น้ำหนักตัวลด
พบ Ketone ในปัสสาวะ เนื่องจากมีการ metabolism ของ fatty acid
ภาวะขาดวิตามิน B1 (Thiamine deficiency)
รุนเเรงมาก
Wernicke's encephalopathy :fire:
ป้องกันได้โดย ให้ Thiamine วันละ 100 mg IV/IM ในผู้ที่อาเจียนมากกว่า 3-4 สัปดาห์ :red_cross:
มีการเพิ่มขึ้นของ Liver function test เล็กน้อย
ทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกิน หากมีอาการของ Hyperemesis gravidarum จนถึงไตรมาส 3
การพยาบาล
ให้ความรู้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน แก่หญิงตั้งครรภ์ สามี และครอบครัว
หาสาเหตุทางอารมณ์ ประคับประคองจิตใจผู้ดูแล สามี และครอบครัวควรให้กำลังใจและให้ความ ช่วยเหลือในการดูแลสนับสนุนทางจิตใจเพื่อลดสาเหตุปัจจัยที่ทำให้อาการรุนแรงขึ้นจากการหลั่ง Cortisol
ดูแลอนามัยในช่องปากให้บ้วนปากหลังมื้ออาหารทุกมื้อ
8.บันทึกสัญญาณชีพ T, P, R, BP
ชั่งน้ำหนักทุกวัน
บันทึก I/O เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะ dehydration
หลังอาหารให้นั่งประมาณ 1/2 ชั่วโมง ไม่ควรดื่มน้ำหลังมื้ออาหารทันที ควรเว้นระยะประมาณ 1 ชั่วโมง
ให้ยาขับลม ยาช่วยย่อย ให้รับประทานคู่กันก็เพื่อช่วยบรรเทาอาการแพ้ท้องให้ดีขึ้น
3.ควรเลือกอาหารย่อยง่ายๆ งดอาหารเหลว, มัน, มีกลิ่น ไม่ควรกินของดอง น้ำอัดลมที่จะทำให้เกิดแก๊สมาก เพราะจะยิ่งทำให้คลื่นไส้มากขึ้น
หลังจากที่สามารถควบคุมอาการคลื่นไส้อาเจียนได้ ปรับเปลี่ยนวิธีรับประทานอาหาร เป็นรับประทานครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้งขึ้น เพื่อให้ร่างกายปรับตัวย่อยอาหารได้ทัน
ดูแลให้นอนพักอย่างเพียงพอ ตื่นนอนตอนเข้าควรค่อยๆ ลุกจากเตียง ไม่ควรลุกขึ้นทันทีทันใด
การรักษา
Stop N/V & Prevent
Wernicke’s encephalopathy
NPO 24 ชั่วโมง
ให้ยารักษาอาการคลื่นไส้อาจียน
-ให้ pyridoxine ร่วมกับ doxylamine ในผู้ป่วย hyperemesis gravidarum มีความปลอดภัย โดยเฉพาะความปลอดภัยต่อทารกในครรภ์
ยา antihistamine มีผลยับยั้งการหลั่ง histamine ที่ histamine1 receptor และมีผลต่อ vestibular system ซึ่งทำให้ลดการกระตุ้นที่ vomiting center จึงลดอาการคลื่นไส้อาเจียนได้
ให้วิตามิน
ในผู้ที่มีอาการนานมากกว่า 3 สัปดาห์ขึ้นไป ควรให้ thiamine ทดแทนปริมาณยาที่แนะนำ คือ Thiamine รับประทานวันละ 50 มิลลิกรัมหรือให้ทางหลอดเลือดดำวันละ 100 มิลลิกรัม หรือ อาจให้เป็นวิตามินรวมผสมลงในสารน้ำ 1 ครั้งต่อสัปดาห์จนกระทั่งผู้ป่วยกลับมารับประทานอาหารได้เป็นปกติ
-ให้ pyridoxine หรือวิตามินบีหกวันละ 3 ครั้ง 10-25 มิลลิกรัม ปริมาณสูงสุด100 มิลลิกรัมต่อวันพบว่ามีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพที่ดี
ให้ corticosteroid ปัจจุบันยังเป็นข้อถกเถียงเรื่องประโยชน์ของการให้ steroid อย่างไรก็ตามแนะนำว่า ควรให้ในกรณีผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงและยาวนาน เนื่องจากพบว่าได้ประโยชน์ในเรื่องลดอัตราการ readmission ในผู้ป่วยกลุ่มนี้
ให้ยา sedative หากจำเป็นตามคำสั่งการรักษาเพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
หาสาเหตุที่เป็นปัจจัยเสริมเช่น ความเครียด
Prevent Electrolyte Imbalance
IV fluid + Vit Bco
คำเเนะนำก่อนกลับบ้าน
Diagnosis
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
U/A พบ Ketone uria
ค่า Na, K, Cl ลดลง
CBC ค่า Hb,Hct เพิ่มขึ้น
BUN,Cr,Uric acid เพิ่มขึ้น
SGOT,SGPT เพิ่มขึ้น
มีอาการคลื่นไส้อาเจียน มากกว่า 3 ครั้งต่อวัน
น้ำหนักตัวตัวลดมากกว่า 5% หรือ 3 Kg
พบ Ketonuria
ภาวะขาดน้ำ
ความผิดปกติของสมดุลกรดเบส