Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาตรฐานการศึกษากับระบบการวัดผลแบบ OKRs - Coggle Diagram
มาตรฐานการศึกษากับระบบการวัดผลแบบ OKRs
การใช้ OKRs
กับการประกันคุณภาพการศึกษา
หลักการสำคัญของ OKRs
1.เน้นเฉพาะเรื่องที่สำคัญ
2.เน้นความเชื่อมโยงและมีการทำงานเป็นทีม
3.เน้นผู้รับผิดชอบและติดตามได้ง่าย
4.เน้นการตั้งเป้าหมายที่ท้าทาย
กรอบการตั้งเป้าหมาย SMARTER
E = มีจริยธรรม (Ethical)
R = บันทึกผลได้ (Recorded)
T = มีกำหนดเวลา (Time-Based)
R = เป็นจริงได้ (Realistic)
A = เห็นพ้องร่วมกัน (Agreed Upon)
M = วัดได้ (Measurable)
S = เฉพาะเจาะจง (Specific)
ความหมายของ OKRs
Objectives คือ วัตถุประสงค์หลัก เป็นการบอกจุดมุ่งหมายของหน่วยงาน (What)
Key Results คือ ผลลัพธ์หลักเป็นการบอกว่าจะทราบได้อย่างไร ว่าเราบรรลุจุดมุ่งหมายนั้น (How)
OKR : Objective and Key Resultsคือ เครื่องมือในการตั้งเป้าหมายและกำหนดตัววัดผล
แนวคิดการสร้างวัตถุประสงค์และผลลัพธ์หลัก (objectives and Key Results)
OKRs
OKRs มีทั้งเรื่องวัตถุประสงค์และผลลัพธ์หลัก
OKRs จะมีการประเมินรายไตรมาส
OKRs จะเป็นระบบที่มีการเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ มากกว่า
OKRs เป็นระบบแบ่งผสมคือทั้งบนล่างและล่างขึ้นบน
OKRs ไม่มีการเชื่อมโยงกับผลตอบแทนโดยตรง
OKRs สนับสนุนให้คนที่ตั้งเป้าหมายได้ท้าทายมากกว่า
MBOs
MBOs จะมีลักษณะที่แต่ละคนจะสนใจเฉพาะวัตถุประสงค์ของตนเป็นหลัก
MBOs เป็นระบบที่เน้นการบริหารแบบบนล่าง
MBOs มักจะมีการประเมินผลรายปีเป็นหลัก
MBOs ใช้เชื่อมโยงกับผลตอบแทนของพนักงาน
MBOs มีเฉพาะเรื่องวัตถุประสงค์เท่านั้น
MBOs เป็นระบบที่มักจะทำให้คนไม่กล้าเสี่ยง
ลักษณะเป้าหมายที่ดี
กระตุ้นให้เกิดความผูกพันในเป้าหมาย ถึงแม้เป้าหมายจะยาก มีความท้าทาย แต่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับกิจกรรมที่ดำเนินการตามแผนที่กำหนด
ผลลัพธ์จากการปฏิบัติ ที่มีส่วนร่วมทั้งในกระบวนการตัดสินใจและการแข่งขันตลอดจนผลตอบแทน จะนำมาซึ่งความพยายามที่สูงขึ้น
การตั้งเป้าหมายส่วนบุคคล มีความเฉพาะเจาะจง นำมาซึ่งประสิทธิผลที่สูง และกรณี เป็นทีม หากมีความสอดคล้องกับความคิดเห็นส่วนรวมของทีม
การตรวจสอบ OKRs
2.ผลลัพธ์หลัก ต้องวัดผลได้ชัดเจน
3.มีความสอดคล้องกับ OKRs ในระดับบนและOKRsในระดับหน่วยงาน
1.ที่ตั้งมีความท้าท้าย เป็นไปได้ ไม่ง่าย ไม่ยาก
4.ไม่ใช่กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ แต่เป็นการตั้งวัตถุประสงค์พร้อมทั้งผลลัพธ์หลักที่วัดผลได้ชัดเจน
การออกแบบ
ระบบ OKRs
มาตรฐานการศึกษาของชาติของระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
2.ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-Creator)
มีทักษะการทำงานร่วมกัน ทักษะการสื่อสารรอบรู้ทางข้อมูลสารสนเทศและดิจิทัล เพื่อแก้ปัญหาการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ นำความคิดสู่การสร้างผลงาน
3.พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen)
เชื่อมั่นในความถูกต้อง ยุติธรรม มีจิตประชาธิปไตย มีสำนึกและภาคภูมิใจในความเป็นไทยและพลเมืองอาเซียน
1.ผู้เรียนรู้ (Learner Person)
รู้จักตนเองและผู้อื่น มีเป้าหมายและทักษะการเรียนรู้ บริหารจัดการตนเองเป็นมีทักษะชีวิตเพื่อสร้างสุขภาวะ และสร้างงานที่เหมาะสมกับช่วงวัย
มาตรฐานการของชาติของ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย / อาชีวศึกษา
2.ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-Creator)
สามารถแก้ปัญหา สื่อสารเชิงบวก ทักษะข้ามวัฒนธรรม ทักษะการสะท้อนคิด การวิพากษ์ เพื่อสร้างนวัตกรรม และสามารถเป็นผู้ประกอบการได้
3.พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen)
เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เป็นธรรม มีจิตอาสากล้าหาญทางจริยธรรม และเป็นพลเมืองที่กระตือรือร้นร่วมสร้างสังคมที่ยั่งยืน
1.ผู้เรียนรู้ (Learner Person)
ชี้นำการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความรอบรู้ รู้ทันการเปลี่ยนแปลง เพื่อพัฒนาสุขภาวะ คุณภาพชีวิตและอาชีพ
มาตรฐานการศึกษาของชาติของระดับประถมศึกษา
2.ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-Creator)
รับผิดชอบในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะทางดิจิทัล การคิดสร้างสรรค์ ภาษาอังกฤษ การสื่อสาร และความรอบรู้ด้านต่าง ๆ
3.พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen)
แยกแยะผิดถูก ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของตนโดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น เป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม มีจิตอาสา รักท้องถิ่น และประเทศ
1.ผู้เรียนรู้ (Learner Person)
รักและรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ ชอบการอ่านมีความรู้พื้นฐาน ทักษะและสมรรถนะทางภาษา การคำนวณมีเหตุผล มีนิสัยและสุขภาพที่ดี มีสุนทรียภาพในความงามรอบตัว
มาตรฐานการศึกษาของชาติระดับปฐมวัย
2.ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-Creator)
รับผิดชอบในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะทางดิจิทัล การคิดสร้างสรรค์ ภาษาอังกฤษ การสื่อสาร และความรอบรู้ด้านต่าง ๆ
3.พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen)
แยกแยะผิดถูก ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของตนโดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น เป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม มีจิตอาสา รักท้องถิ่น และประเทศ
1.ผู้เรียนรู้ (Learner Person)
รักและรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ ชอบการอ่านมีความรู้พื้นฐาน ทักษะและสมรรถนะทางภาษา การคำนวณมีเหตุผล มีนิสัยและสุขภาพที่ดี มีสุนทรียภาพในความงามรอบตัว
มาตรฐานการของชาติของระดับอุดมศึกษา
3.พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen)
กล้าต่อต้านการกระทำในสิ่งที่ผิด ให้คุณค่ากับความรู้ความสามารถ ร่วมมือสร้างสรรค์การพัฒนาที่ยั่งยืน
2.ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-Creator)
ร่วมแก้ปัญหาสังคม การบูรณาการข้ามศาสตร์สร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อเพิ่มโอกาสและมูลค่าแก่ตนเองสังคมส่วนรวม และประเทศ
1.ผู้เรียนรู้ (Learner Person)
เรียนรู้ตลอดชีวิต พร้อมเผชิญความเปลี่ยนแปลงและมีความเป็นผู้นำเพื่อสร้างสัมมาอาชีพที่ดีต่อตนเองครอบครัว และสังคม