Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา - Coggle Diagram
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
คุณภาพของผู้เรียน ตามหลักสูตร 2551
มาตรฐานและตัวชี้วัด (ด้านความรู้ : K)
มีความรู้ ทักษะสำคัญตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ (A)
5.อยู่อย่างพอเพียง
4.ใฝ่เรียนรู้
3.มีวินัย
6.มุ่งมั่นในการทำงาน
ซื่อสัตย์สุจริต
7.รักความเป็นไทย
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
มีจิตสาธารณะ
สมรรถนะสำคัญผู้เรียน (C)
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (ด้านทักษะกระบวนการ : P)
ด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ
ด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ
ด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์
ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม
ด้านอาชีพและทักษะการเรียนรู้
ด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
จุดเน้นด้านการประเมินและการพัฒนามาตรฐานการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
การทดสอบผ่าน/การซ้ำชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6
การกำหนดแนวทางการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
การประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนและสถานศึกษา
การสร้างเครื่องมือ ระบบ และวิธีประเมิน
การประเมินครู
การพัฒนาแบบทดสอบการศึกษามาตรฐานระดับชาติ
การประเมินระดับชั้นเรียน
ประเมินที่อิงตนเอง เพื่อน ปกติวิสัย และมาตรฐาน ปรับให้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับการเรียนรู้ที่หลากหลาย
4.ประเมินที่บูรณาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีจากงานที่กำหนดให้ทำ และให้ข้อมูลป้อนกลับ เพื่อแสดงผลการเรียนรู้ และสื่อสารกับพ่อแม่/ผู้เกี่ยวข้อง
2.ประเมินความก้าวหน้าให้มีประสิทธิผล เน้นประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้มากกว่าประเมินเพื่อตัดสินผล หรือ เปรียบเทียบกับผู้อื่น
5.ประเมินความรอบรู้ ด้านการวัดผลและคลังเครื่องมือประเมินที่มีคุณภาพสูง (ถูกต้อง เชื่อถือได้ ยุติธรรม) ของครูผู้สอน
1.ประเมินผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาเป็นฐาน โดยคำนึงถึงสภาพบริบทของสถานศึกษา ปัจจัย กระบวนการดำเนินงานและผลลัพธ์ของผู้เรียนที่ต้องประเมิน
การประเมินระดับโรงเรียน/เขตพื้นที่
1.ประเมินที่ยึดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา
2.ประเมินระบบกำกับที่มีสารสนเทศที่แสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
3.ประเมินความก้าวหน้า กับประเมินที่มีเกณฑ์ที่เป็นหลักเทียบ
4.ผู้บริหารจำเป็นต้องมีความรอบรู้ด้านการประเมิน
5.ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) จากการประเมินชั้นเรียน เพื่อการบริหารงานที่เหมาะสมกว่าเดิม
6.เน้นการประเมินเพื่อการพัฒนาตนเอง มากกว่าการเน้นการแข่งขัน หรือ เปรียบเทียบกับผู้อื่น
การประเมินระดับชาติ
1.ประเมินผลสรุปเป็นส่วนหนึ่งของระบบ กำกับที่มีสารสนเทศเพื่อแสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
2.ประเมินกระบวนการพัฒนาการประเมิน มีเครื่องมือที่มาตรฐาน และกำหนดมาตรฐานผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ใช้เทคโนโลยีในการสอบ
3.ารใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) จากการทดลองระดับชาติที่ให้ข้อมูลป้อนกลับที่เป็นประโยชน์กับผู้เรียน
การกำหนดระดับคุณภาพ
ดี
ปานกลาง
ดีเลิศ
กำลังพัฒนา
ดีเยี่ยม/ยอดเยี่ยม
มาตรฐานการประเมิน
2.มาตรฐานด้านความเป็นไปได้ จะต้องมีความเป็นไปได้ในแนวทางปฏิบัติจริง ประหยัด คุ้มค่า และเหมาะสม
3.มาตรฐานด้านความถูกต้อง ต้องมีความถูกต้อง ให้ข้อมูลเชื่อถือได้
1.มาตรฐานด้านประโยชน์จากการประเมิน นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานได้จริง
4.มาตรฐานด้านความเหมาะสม ต้องไม่ส่งผลกระทบต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน
หลักการ การประเมินคุณภาพภายใน (Internal Quality Assessment)
2.ดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ตามข้อ1
3.การประเมินคุณภาพภายใน
1.จุดมุ่งหมายของการประเมินคุณภาพภายใน
วัตถุประสงค์ การประเมินคุณภาพภายใน (InternalQuality Assessment)
3.เพื่อพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
4.เพื่อนำข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปจัดทำรายงานประจำปี
2.เพื่อนำผลการประเมินคุณภาพภายในมาใช้เป็นข้อมูลประกอบในการตัดสินใจวางแผนพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา
1.เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานสถานศึกษา