Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคที่มีความเสื่อมของระบบประสาท - Coggle Diagram
โรคที่มีความเสื่อมของระบบประสาท
โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งหรือโรคเอ็มเอส
(MS : Multiple sclerosis/Disseminated sclerosis)
ลักษณะของโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
1.มีการเสื่อมของเยื่อไมอีลินกระจายไปทั่วระบบประสาทส่วนกลาง
2.ระบบภูมิคุ้มกันต้านทานไม่สามารถจดจาและป้องกันตนเองได้ทำให้เซลล์เม็ดเลือดขาวที่เกี่ยวข้องหลั่งสารที่ทำให้เกิดการทำลายปลอกหุ้มเส้นประสาท หรือ ปลอกประสาท (Myelin sheath)
3.เป็นโรคที่เกิดร่วมกันระหว่างการอัก เสบ(Inflammation)และความเสื่อม(Degeneration)
4.อาการเป็นๆหายๆและถ้าหายก็หายขาด
การรักษาไม่มีสารักษาโดยเฉพาะนอกจากรักษาตามอาการ
3.ให้การดูแลเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะอาจสวนค้างไว้ซึ่งควรให้ยาต้านจุลชีพร่วมด้วยเพื่อป้องกันการติดเชื้อทางเดิน ปัสสาวะ
2.ให้ยานอนหลับเช่น บาร์บิทูเรต เมื่อผู้ป่วยมีอาการกระสับกระส่ายหรือร่าเริง
1.ให้ ACTH ฮอร์โมน และคอร์ติโคสเตอรอยดฮ์ อร์โมน ในระยะที่มีอาการทางประสาทตาอาจให้เข้ากล้ามเนื้อ
4.ให้ฟีนอลเข้ากล้ามเน้ือ
5.ให้อาหารที่มีโปรตีน วิตามินบี 12 และซีสูง
อาการและอาการแสดง
3.อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อครึ่งซีก
4.การรับความรู้สึกเกี่ยวกับรวามสั่นสะเทือน การทรงตัวบกพร่อง
2.รีเฟลกซ์ผิดปกติ
5.ความผิดปกติด้านจิตใจ
1.ความผิดปกติที่ประสาทจะทำให้ลูกตาสั่น
6.การเคลื่อนไหวผิดปกติ ซึ่งเกิดจากรอยโรคที่สมองเล็ก สูญเสียการทรงตัว
7.สูญเสีนการรับรู้การสัมผัส
8.มีอาการชาและ เจ็บปวด
9.กระเพาะปัสสาวะ กระเพาะอาหารสูญเสียหน้าที่
การวินิจฉัยการพยาบาล
2.ท้องผูกหรือการขับถ่ายปัสสาวะบกพร่อง เนื่องจากกล้ามเน้ือหูรูดและกระเพาะปัสสาวะสูญเสียหน้าที่จากเยื่อไมอีลินใน ไขสันหลงัเสื่อมหรือจากการไม่เคลื่อนไหว
3.บกพร่องในการติดต่อสื่อสารเนื่องจากการควบคุมการทางานของประสาทและกล้ามเน้ือเก่ียวกับการพูดสูญเสียหน้าที่
1.มีความวิตกกงัวลสูงเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพหรือบทบาทหน้าที่
พยาธิสรีรวิทยา
จุดที่ไมอีลินเสื่อมน้ีจะพบทั่ว ไปในประสาทสีขาวของสมองใหญ่ ก้านสมอง ไขสันหลังประสาทตา และสมองน้อย ใน ระยะแรกจะมีการทาลายและการตายของปลอกไมอีลินที่หุ้มเส้นประสาทส่วนกลางเนื่องจากปฏิกิริยาตอบสนองของการอักเสบทำให้เกิดการบวมของปลอกไมอีลิน คงเหลือแต่แกนแอกซอน ทาให้การนำพลัง ประสาททำได้ช้าลง และอาจเบี่ยงเบนไปหรือถูกขัด ขวาง เมื่อการอักเสบและการบวมหายไป เยื่อหุ้มไมอีลินจะงอกข้ึนมาใหม่แต่ส่วนใหญ่จะไม่เหมือนเดิม ในระยะท้ายๆ ของโรค อาจจะลุกลามไปที่เน้ือสมองประสาทตา
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลความสะอาดของผิวหนงัเนื่องจากผู้ป่วเคลื่อนไหวลำบากจึงอาจเกิดแผลกดทับได้ง่ายจึงควรช่วยพลิกตะแคงตัวทุก
2 – 3 ชั่วโมง
ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายและปฏิบัติกิจวตัรประจำวันควรกำหนดตารางให้มีการทากิจกรรมและการพักผ่อนที่
เหมาะสม การทำกิจกรรมใด ๆ
ดูแลผู่ป่วยให้ได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่า มีวิตามินสูง อาหารมีกากควบคุมน้ำหนักให้พอเหมาะ
จัด ห้องให้เงียบสงบผ่อนคลายเนื่องจากผู้ป่วยพูดช้าตอบสนองช้าสมาชิกในครอบครัวต้องเข้าใจและยอมรับผู้ป่วยบางรายก็อาจจะมีอาการหงุดหงิด หรือหวั เราะร่าเริง
การพยาบาลเพื่อควบคุมความรุนแรงของโรคในระยะที่มีอาการเฉียบพลัน
การดูแลทางด้านจิตใจ
โรค กิแลงเบอร์เร่ (Guillain - Berresymdrome)
สาเหตุ
สาเหตุท่ีแท้จริงทราบไม่แน่ชัดแต่ส่วนใหญ่เชื่อว่าเกิดจากปฏิกิริยาแพ้(Allergy)หรือการตอบสนองแบบภูมิต้านทางตนเอง (Autoimmune) ซึ่งเก่ียวเนื่องกบั การติดเชื้อ ประมาณร้อยละ 50 – 65 ของผู้ป่วยจะมีการติดเชื้อแบบไม่เฉพาะเจาะจงก่อนมี อาการประมาณ10–30วัน จึงเชื่อว่าSensitizedTLymphocyteอาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดการทำลายปลอกหุ้มประสาท(Thompson andMcFarland,1987)ส่วนใหญ่มีกเป็นการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจและทางเดินหายใจและทางเดินอาหารซึ่งเป็นเชื้อไวรัส
พยาธิสรีรภาพ
เชื่อว่าส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซึ่งจะทำให้เกิดปฏิกิริยาทางอิมมูนต่อโปรตีนของไวรัสต่อปลอกปลายประสาทส่วน ปลาย ทำให้เกิดการทำลายของปลอกหุ้มประสาทและเกิดการสูญเสียปลอกหุ้มประสาท เมื่อมีการบวมหรือสลายของปลอกหุ้ม ประสาทก็จะมีผลต่อการนากระแสประสาท ถ้า ปลอกหุ้มประสาทบวมการนากระแสประสาทจะช้าลงถ้า ปลอกหุ้มประสาทสลายจะมี การขัดขวางการนำกระแสประสาทจนไม่สามารถเกิด Nerve Action Potential เกิดอาการกล้า มเน้ืออ่อนแรง
อาการและอาการแสดง
2.อาการของกล้ามเน้ืออ่อนแรง อาการอ่อนแรงจะเกิดหลังอาการชา โดยเริ่มท่ีชา อ่อนแรง เดินลาบาก อาการอ่อนแรงจะ ลุกลามอย่างรวดเร็วและลุกลามที่แขนและลำตัว
3.อาการทางประสาทสั่งงาน ทำให้การทางานของเส้นประสาทสมองที่มาควบคุมการทางานของกล้ามเน้ือบริเวณหน้าบกพร่องผู้ป่วยจะมีปัญหาการกลืนพูดหายใจมีอัมพาตของหน้า
1.อาการด้านประสาทรับความรู้สึก จะปรากฏอาการหลังจากมีการติดเชื้อ1 – 3 สัปดาห์ ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการชาเหน็บ (Tingling) และเจ็บโดยเฉพาะปลายแขน ขา หลังจากนั้น1 – 4 วันจะมีอาการปวดและกดเจ็บกล้ามเน้ือโดยเฉพาะไหล่สะโพกและ โคนขา แล้วจึงมีอาการอ่อนแรงตามมา
4.อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
4.1ประสาทซิมพาเทติค(Symphathetic)ทาหนา้ที่มากไปทำให้ความดันโลหิตเต้นเร็วกว่าปกติเหงื่ออกมาก
4.2ประสารทพาราซิมพาเทติค(Parasymphathetic)ทาหน้าที่มากไปทาให้หัวใจเต้นช้าหน้าแดงตัวอุ่นถ้าทำหน้าที่น้อยไปมาก หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อและน้ำลายออกมาก
การวินิจฉัยโรค
1.ลักษณะทางคลินิกที่เป็นลกัษณะเด่นคืออาการอ่อนแรงอย่างเฉียบพลัน
2.การวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจากการกรวดน้ำไขหลัง
3.การตรวจการนากระแสประสาท (Nerve Conduction) และการตรวจหาความผิดปกติของ
กล้ามเน้ือ
กิจกรรมการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากความสามารถในการระบายอากาศ และการไอไม่มีประสิทธิภาพจากล้ามเนื้อช่วยในการ หายใจอ่อนแรง
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะเมื่อจำเป็นโดยใช้เทคนิคปราศจากเชื้อเพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะและด้วยความ นุ่มนวลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของหลอดลมคอ
เคาะปอด และช่วยระบายเสมหะและอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงประโยชน์ของการเคาะปอดเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมมือในการดูแล
สอนและกระตุ้นการไอที่มีประสิทธิภาพ (Effective Cough) และการหายใจที่ถูกวิธี (Deep Breathing Exercise)
3.ไม่สามารถปรับตัวหรือเผชิญกับความเจ็บป่วยได้เนื่องจากอาการของโรครุนแรงเฉียบพลัน
1.ประเมินการใช้กลไกในการเผชิญปัญหาและการแสดงพฤติกรรมของผู้ป่วย
2.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความกลวัและวิตกกงัวลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
3.ให้ขอ้มูลกับและญาติและให้มีส่วนร่วมในการวางแผนและตดัสินใจในการรักษาพยาบาลเพื่อเพิ่มความรู้สึกความมีคุณค่าในตนเอง
ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกาย / ทำกิจกรรมได้ตามปกติเนื่องจากมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
ทำ Passive exercise แนะนาญาติในการ Passive exercise เพื่อช่วยรักษาหน้าที่ของขอ้ ต่อและป้องกันการหดร้ังของ กล้ามเน้ือ
3.แนะนาผู้ป่วยในการทำActiveExercise เพื่อช่วยรักษาหน้าที่ของข้อต่อและป้องกนั การหดร้ังของกล้ามเน้ือ
ประเมินการเคลื่อนไหว ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือและประสาทรับความรู้สึกทุกชั่วโมงหรือเมื่อจำเป็น
การรักษา
1.รักษาประสิทธิภาพของการหายใจวินิจฉัยภาวะหายใจล้มเหลวอย่างรวดเร็วและพิจารณาใส่เครื่องช่วยหายใจเพื่อรักษา ชีวิตผู้ป่วยหายใจหรือผู้ที่อยู่ในระยะเฉียบพลันไม่สามารถรับประทานอาหาร
2.ในรายที่อยู่ระยะเฉียบพลันต้องประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด โดยติดตั้งเครื่องตรวจไว้ตลอดเวลา
3.ให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดและยาป้องกัน
การเกิดลิ่มเลือดในรายที่เคลื่อนไหวตนเองไม่ได้
โรคมัยแอสทีเนีย กราวิส (Myasheniagravis : MG)
การรักษา
รักษาทางยา ที่ใช้คือ Neostigmine, Prosticmineและpyridostigmine (mestinon) ยาน้ีมีฤทธ์ิตา้ นเอนไซม์โคลินเอสเตอเรสโดยจะไปสกดัฤทธ์ิของเอนไซมท์รอยต่อประสาทกลา้มเน้ือทาให้อเซทิลโคลิน
ทำผ่าตัดต่อมไทมัสในรายที่เป็นเน้ืองอก(ซึ่งพบไดร้อยละ10)จะได้ผลดีในหญิงอายุน้อยกว่า35ปีและเป็นในระยะสั้น
การเปลี่ยนพลาสมา (plasmapheresis)
กิจกรรมการพยาบาล
2.การติดต่อสื่อสารบกพร่องเนื่องจากผู้ป่วยเปล่งเสียงลาบาก(Dysphonia)ผู้ป่วยจะพูดเสียงข้ึนจมูกเมื่อผู้ป่วยพูดนานๆ เสียงจะหายไปโดยเฉพาะถ้าเกิดพยาธิสภาพแถวกล้ามเน้ือคอไหล่พยาบาลจะต้องส่งต่อข้อมูลและการเปลี่ยนแปลงต่างๆให้แต่ละ เวรทราบจะต้องค่อย ๆ พูดกับผู้ป่วยถึงแผนการรักษาและวิธีการต่าง ๆ เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยถาม
3.ผู้ป่วยมีปัญหาเกี่ยวกับการกลืนเมื่อกล้ามเน้ือการกลืนการเคี้ยวการพูดไดร้ับผลกระทบจะทาให้กลืนลำบากและสำลักง่ายควรช่วยให้ป่วยได้รับอาหารจานวนมากในตอนเช้าซึ่งเป็นช่วงกล้ามเน้ือแข็งแรงให้ยาก่อนอาหารหน่ึงชั่วโมงเพื่อให้กล้ามเน้ือ การเคี้ยวแข็งแรงจัดหาเครื่องมือที่ช่วยในการกินอาหารให้กินคำเล็กๆและพักระหว่างกินอาหารอุ่นอาหารให้ร้อน
1.ผู้ป่วยที่มีปัญหากล้ามเน้ือการหายใจอ่อนแรงควรจัดเตียงไว้ใกล้โ้ต๊ะพยาบาล เพื่อสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ดูแลให้ออกซิเจนเพียงพอ และประเมินการขยายตัวของปอดบ่อย ๆ ฟังเสียงหายใจทุก 2 ชั่วโมง
4.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อจากสาเหตุต่าง ๆ คือ การได้รับยาสเตอรอยด์ ซึ่งจะกดภูมิคุ้มกันทำให้ติดเชื้อได้ง่าย เช่น ปอดบวม จึงต้องดูแลความสะอาดของช่องปากเสมอ ๆ วัดอุณหภูมิทุก 4 ชั่วโมง เปลี่ยนท่านอนทุก 1 – 2 ชั่วโมง ดูแลความสะอาดของทางเดิน ปัสสาวะ กระตุ้นให้หายใจลึก ๆ และไอ
อาการ
1.กล้ามเน้ือกลุ่มที่ไปเลี้ยงตาด้านนอก (external ocular muscle) มักเป็นก่อน ซึ่งเรียกว่า Ocular Myasthenia ผู้ป่วยจะมีอาการ หนังตาตก (Ptosis) มองเห็นภาพซ้อน (diplopia) อาการเหล่าน้ีมักจะเป็นเวลาบ่ายหรือเย็นช่วงกล้ามเน้ือเหล่าน้ีได้ทำงานมาตลอดวันแล้วหลังจากได้พักผ่อนแล้วรุ่งเช้าก็จะดีข้ึน
2.พบกล้ามเน้ือในบัลบาร์ (bulbar muscle) ซึ่งทำหน้าท่ีเกี่ยวกับการกลืน การพูด และการเคี้ยวอาหารก็มักจะมีอาการอ่อนแรงด้วยทำให้เกิดอาการพูดลาบากกลืนลาบากจะสังเกตได้จากตอนเช้าผู้ป่วยกระปี่กระเปร่าพอตอนเย็นจะมีอาการอ่อนแรงริมฝีปากเผยเวลายิ้ม
3.กล้ามเน้ืออื่น ๆ เช่น กล้ามเน้ือหน้า กล้ามเน้ือหน้าอก ขาท่อนบน พบได้ถึงร้อยละ 60 กล้ามเน้ือมือพบได้ร้อยละ 30 ส่วนกล้ามเน้ือลำตัวแขนและขาท่อนล่างพบเพียงร้อยละ10ถ้าเป็นที่กล้ามเน้ือเก่ียวกับการหายใจจะก่อให้เกิดอันตรายหายใจลำบากต้อง ใช้ครื่องช่วยหายใจ
การวินิจฉัยการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการระบายอากาศไม่พอ เนื่องจากหยุดหายใจจากกล้ามเน้ือการหายใจอ่อนแรง
3.ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากการเคี้ยวและการกลืนบกพร่องเน่องจากกล้ามเน้ืออ่อนแรง
4.เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากได้รับอาการไม่เพียงพอได้รับยาสเตอรอยด์
2.การติดต่อสื่อสารบกพร่อง เนื่องจากกล้ามเน้ืออ่อนแรง
พยาธิสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุหลังประสาน (post synaptic membrane) โดยมีจำนวนและความลึกของ Secondary cleft น้อยลง รอยต่อระหว่างกล้ามเน้ือยาวข้ึนแสดงว่ามีการงอกใหม่ของรอยต่อเหล่าน้ี บางคร้ังพบว่ามีลิมโพไซต์ (Lymphocyte) ร่วมด้วย Synaptic cleft กว้างข้ึนไม่พบความผิดปกติของเยื่อบุก่อนประสานและปริมาณของSynapticvesicleปกติในทางสรีรวิทยาเมื่อกระตุ้นประสาทที่ ไปเลี้ยงกล้ามเน้ือนั้นติดต่อกันจะเกิดการตอบสนองลดลงเรื่อย ๆ ความตึงของ action potential ลดน้อยยลงไปเรื่อย ๆ จนไม่ตอบสนอง เลย
สาเหตุ
ท่ีแท้จริงไม่ทราบแน่นอนแต่โรคน้ีมีความสัมพนัธ์ใกล้ชิดกับโรครูมาตอยด์เอสแอลอี(SLE)โรคของต่อมทยัรอยด์
เบาหวาน จึงเชื่อว่าน่าจะเกี่ยวกับ ระบบออโตอิมมูน (autoimmune)