Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การจัดทำรายงานผล การประเมินตนเองของ สถานศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 7
การจัดทำรายงานผล
การประเมินตนเองของ
สถานศึกษา
รายงานผลการประเมินตนเอง
รายงานผลการประเมิน
ตนเองตามองค์ประกอบ
ตัวบ่งชี้คุณภาพและเกณฑ์ตามที่ระบุไว้ของสถานศึกษา ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง วิเคราะห์ตนเองว่ามีจุดอ่อนจุดแข็ง มีแนวทางและแผนที่จะปรับปรุงจุดอ่อนและเสริมจุดแข็งอย่างไร และนำเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร
โรงเรียน หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานเเละผยแพร่ต่อสาธารณชน
หลักการสำคัญของการประเมิน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา
จุดมุ่งหมายอยู่ที่การพัฒนา
คุณภาพให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการ
และการทำงานของบุคลากรทุกคนในสถาน
ศึกษา ดำเนินการตามแผน การตรวจสอบ
ประเมินผล และพัฒนาปรับปรุงต่อเนื่อง
การประเมินคุณภาพภายใน
หน้าที่บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
ผู้บริหาร ครู อาจารย์ และบุคลากรอื่น ๆ
วัตถุประสงค์การประเมิน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา
นำข้อมูลผลการประเมิน
คุณภาพภายในตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
ไปจัดทำรายงานประจำปี
พัฒนาระบบการประเมิน
คุณภาพภายในตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
ตรวจสอบคุณภาพและผลการ
ปฏิบัติงานของสถานศึกษาตาม
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และมาตรฐานสถานศึกษา
นำผลการประเมินคุณภาพภายใน
มาใช้เป็นข้อมูลประกอบใน
การตัดสินใจ วางแผนพัฒนา
และปรับปรุงคุณภาพการศึกษา
วัตถุประสงค์ของการจัดทำ
รายงานผลการประเมินตนเอง
นำเสนอผลการพัฒนาการจัดการศึกษของ
สถานศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา
เป็นฐานข้อมูลของสถานศึกษาในการจัดทำ
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
แผนปฏิบัติการประจำปี
โครงสร้างและการเขียนรายงาน
การประเมินตนเองของสถานศึกษา
ส่วนที่ 1 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ส่วนที่ 2 รายละเอียดผลการ
ประเมินตนเองของสถานศึกษา
ขั้นตอนการประเมินคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาและ
การจัดทำรายงาน
การประเมินตนเอง SAR
องค์ประกอบของรายงานการประเมินตนเอง
การสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การพัฒนาสถานศึกษาให้
มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ดำเนินงานตามแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา นำผลการประเมินที่สะท้อนคุณภาพของผู้เรียน ผลสำเร็จของการบริหารจัดการศึกษา ทั้งด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านปัจจัย ใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นฐานในการขับเคลื่อนมต่อเนื่องและยั่งยืน
แนวการดำเนินการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
วิธีที่ 1 การใช้ข้อมูลเพื่อ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา
วิธีที่ 2 การจัดการความรู้
วิธีที่ 3 การใช้ชุมชนการเรียนรู้
ทางวิชาชีพพัฒนางานและการเรียนรู้
แนวทางการพิจารณา SAR
ตามหลักเกณฑ์ของ สมศ.
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหาร
และการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์
ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
ประโยชน์ของการจัดทำ
รายงานผลการประเมินตนเอง
สำนักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ใช้รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด
มีฐานข้อมูลในการกำหนดนโยบาย
การพัฒนาการจัดการศึกษา
พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้รับทราบผลการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทั้งในส่วนที่ดีและส่วนที่ควรพัฒนา เพื่อให้การช่วยเหลือสนับสนุนอย่างเหมาะสม
สถานศึกษามีข้อมูลสารสนเทศ
เชิงประจักษ์ที่จะช่วยกระตุ้นให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและผู้เกี่ยวข้องให้ความสำคัญและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ร่วมกัน
สถานศึกษามีฐานข้อมูลการดำเนิน
งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ทั้งในด้านจุดเด่น จุดควรพัฒนา
โอกาส และข้อจำกัด เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาในปีถัดไป