Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 เทคนิควิธีการประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย (ต่อ) - Coggle Diagram
บทที่5 เทคนิควิธีการประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย (ต่อ)
7.การทำสังคมมิติ
จุดมุ่งหมายของสังคมมิติ
2.เพื่อหานักเรียนที่เพื่อนไม่ชอบ
3.เพื่อหานักเรียนที่ไม่ได้รับการเลือก
1.เพื่อหานักเรียนที่เพื่อนชอบและได้รับการยกย่อง
4.เพื่อศึกษาจำนวนกลุ่มในห้องเรียน
ขั้นตอนของการทำสังคมมิติ มี 3 ขั้นตอน
ขั้นที่ 2 การทำตารางแสดงผลที่ได้หรือการนำเสนอ คือการที่ครูหรือผู้แนะแนวการนำผลการเลือกเพื่อนของนักเรียนแต่ละคนมาลงตาราง เพื่อสึกษาดูว่านักเรียนแต่ละคนเลือกใครเป็นเพื่อนบ้างและได้รับเลือกมากน้อยเพียงใด
ขั้นที่ 3 สร้างสังคมมิติ (Sociogram)
ขั้นที่ 1 กำหนดสถานการณ์หรือคำถาม เพื่อให้นักเรียนตอบ
6.การเขียนบันทึก
ความหมายของการเขียนบันทึก
2.การเขียนแบบบันทึกรายวัน เป็นการบันทึกเหตุการณ์หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนทุกวัน และบันทึกในรูปแบบการบรรยาย จะเน้นเฉพาะเด็กรายที่ต้องการศึกษา
3.การเขียนบันทึกการสนทนา การสนทนาใช้ได้ทั้งเป็นกลุุ่มและรายบุคคล เพื่อประเมินความสามารถในการแสดงความคิดเห็นและพัฒนาการด้านการใช้ภาษาของเด็กและบันทึกผลการสนทนาลงในแบบบันทึกพฤติกรรมหรือบันทึกรายวัน
1.การเขียนแบบบันทึกพฤตกรรม ใช้บันทึกเหตุการณ์หรือประสบการณืที่เกิดขึ้นเฉพาะอย่าง โดยบรรยายพฤติกรรมเด็ก ผู้บันทึกต้องจดบันทึก วัน เดือน ปี เกิดของเด็ก และวัน เดือน ปีที่ทำการบันทึกแต่ละครั้ง
การใช้แบบทดสอบ
ประเภทของแบบทดสอบยึดหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกต่างกันดังนี้
1.จำแนกตามกระบวนการในการสร้าง จำแนกได้ 2 ประเภท
1.2 แบบทดสอบมาตรฐาน
1.1 แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง
2.จำแนกตามจุดมุ่งหมายในการใช้ประโยชน์ จำแนกได้ 3 ประเภท
2.2 แบบทดสอบความถนัด
2.3 แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ
2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
3.จำแนกตามรูปแบบคำถามและวิธีการตอบ จำแนกได้ 3 ประเภท
3.2 แบบทดสอบปรนัย
3.1 แบบทดสอบอัตนัย
4.จำแนกตามลัษณะการตอบ จำแนกได้ 3 ประเภท
4.2 แบบทดสอบเขียนตอบ
4.3 แบบทดสอบด้วยวาจา
4.1 แบบทดสอบภาคปฏิบัติ
5.จำแนกตามเวลาที่กำหนดให้ตอบ จำแนกได้ 2 ประเภท
5.1 แบบทดสอบวัดความเร็ว
5.2 แบบทดสอบวัดความสามารถสูงสุด