Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 เทคนิควิธีการประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย - Coggle Diagram
บทที่5 เทคนิควิธีการประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย
1.การสังเกตพฤติกรรมเด็ก
จุดมุ่งหมาย
4.เพื่อดำเนินการตรวจสอบความก้าวหน้าของเด็กอย่างต่อเนื่อง
5.เพื่อรู้พัฒนาการอย่างละเอียดแต่ละด้าน
3.เพื่อวางแผนส่งเสริมเด็กแต่ละคนจากข้อมูลที่สังเกตได้
6.เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลในการแก้ไขปัญหา
2.เพื่อค้นคว้าว่าเด็กมีจุดเด่นด้านใดและต้องการจะส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านให้แข็งแรง
7.เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการรายงานผลให้ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทราบ
1.เพื่อเป็นจุดตั้งต้นของการวัดและประเมินความสามารถของเด็ก
8.เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลใส่ฟ้มประวัติเด็ก
หลักในการสังเกต
6.ผู้ทำการสังเกตต้องไม่มีอคติ
7.ผู้สังเกตต้องได้รับการฝึกฝน
5.ต้องได้ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อนำไปวิเคราะห์ผล
8.ต้องสังเกตอย่างละเอียดถี่ถ้วน
4.การสังเกตต้องกระทำอย่างเป็นระบบ
9.ต้องสังเกตหลายๆวัน หลายๆครั้ง หลายๆสถานการณ์
3.ต้องนิยามสิ่งที่สังเกตว่าหมายึงอะไร มีขอบเขตอย่างไร
10.ต้องมีการจดบันทึกทันทีอย่างเป็นระบบ
2.ต้องศึกษาเรื่องที่จะสังเกตให้มีความรู้ในเรื่องที่สังเกต
11.ควรใช้เครื่องมืออื่นๆประกอบเพื่อช่วยในการบันทึกการสังเกต
1.ในการสังเกตต้องกำหนดจุดมุ่งหมายที่จะสังเกตไว้ให้แน่นอน
2.การสัมภาษณ์
จุดมุ่งหมาย
คล้ายคลึงกับการใช้แบบสอบถาม จึงมีผู้เรียกการสัมภาษณ์ว่าเป็นแบบสอบถามปากเปล่า แต่มีความแตกต่างกันตรงวิธีการ
ประเภทของการสัมภาษณ์
1.การสัมภาษณ์แบบไม่มีคำถามแน่นอน เป็นการสัมภาษณ์ที่ไม่มีกำหนดคำถามแน่นอนต่ยตัว
2.การสัมภาษณ์ที่มีคำถามแน่นอน เป็นการสัมภาษณ์ที่มีการกำหนดข้อคำถามไว้ล่วงหน้า
วิธีการสร้างแบบสัมภาษณ์
2.สร้างคำถามให้สัมพันธ์กับประเด็นหรือคำสำคํญที่ต้องการทราบข้อมูล
3.นำแบบสัมภาษณ์ที่ออกแบบข้อคำถามไปตรวจสอบตรงเชิงเนื้อหา
1.ศึกษาทฤษฏี หลักการ ตัวแปร หรือประเด็นสำคัญที่ต้องการทราบข้อมูล
4.นำแบบสัมภาษณ์ที่ผ่านการทดสอบความตรงทดลองใช้กับผู้ที่มีลักษณะใกล้เคียง
3.การเขียนบันทึกเกี่ยวกับตัวเด็ก
จุดมุ่งหมาย
2.การสอนบันทึกช่วยให้ครูทราบและรับรู้เรื่องราวของเด็กเป็นรายบุคคล
3.ครูทราบรายละเอียดและเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียนเพิ่มมากขึ้น
1.เพื่อช่วยให้ครูมีโอกาสสะท้อนความคิดและวิเคราะห์การสอนของตนเอง
ข้อดีของการเขียนบันทึกเกี่ยวกับตัวเด็ก
2.ช่วยให้ครูทราบและรับรู้เรื่องราวเด็กเป็นรายบุคคล
3.ทำให้ครูทราบรายละเอียดและเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
1.ช่วยให้ครูมีโอกสสะท้อนความคิด และวิเคราะห์การสอนของครู
ข้อจำกัดของการเขียนบันทึกเกี่ยวกับเด็ก
ตครูผู้สอนต้องใช้เวลาในการจดบันทึกเหตุการณ์ของเด็กที่เกิดในชั้นเรียนตัวอย่างบันทึกเกี่ยวกับเด็ก
4.แฟ้มผลงานเด็ก
จุดมุ่งหมายของแฟ้มผลงานเด็ก
2.บ่งบอกถึงความก้าวหน้าของเด็กแต่ละคน
3.เป็นสิ่งที่แสดงถึงความรับผิดชอบในหน้าที่ของครู
1.เพื่อใช้ในการสื่อสารกับผู้ปกครอง
หลักการที่ควรคำนึงในการจัดเก็บข้อมูลใน Portfolio
4.วัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงานอาจมีการเปลี่ยนแปลงไปตลอดปี
5.ตอบสนองความมุ่งหมายที่หลากหลาย
3.ต้องนำเสนอกิจกรรมของนักเรียนอย่างชัดเจน
6.ข้อมูลในPortfolio ต้องแสดงถึงความก้าวหน้าของนักเรียน
2.เป็นการสะสมผลงานของนักเรียนโดยนักเรียนเป็นผู้ปฏิบัติเอง
7.การจัดทำPortfolio ให้มีประสิทธิภาพต้องเกิดจากการลงมือปฏิบัติที่มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ
1.ต้องมีข้อมูลที่บ่งบอกการสะท้อนผลงานโดยตัวของนักเรียนเอง
5.การใช้แบบประเมินผลพัฒนาการ
หลักการประเมินผลพัฒนาการ
3.ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคลอย่างสม่ำเสมอตลอดปี
4.ประเมินพัฒนาการตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย
2.ประเมินพัฒนาเด็กครบทุกด้าน
5.สรุปผลการประเมิน
1.วางแผนการประเมินพัฒนาการอย่างเป็นระบบ
ข้อดีของการใช้แบบประเมินผลพัฒนาการ
3.การประเมินผลพัฒนาการไม่จำเ็นต้องทำให้เสร็จภายในวันเดียว หรือหนึ่งสัปดาห์
4.การประเมินผลพัฒนาการไม่มีความซับซ้อน เหมาะกับการฝึกบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
2.การประเมินผลพัฒนาการมีความยืดหยุ่นสะดวกต่อการทบทวบทวน วิเคราะห์ และตีความหมาย
5.การประเมินผลพัฒนาการสามารถติดตามความก้าวหน้าและพัฒนาเด็กได้
1.ประหยัดเวลา การบันทึกข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็ว
ข้อจำกัดของแบบประเมินผลพฤติกรรม
2.เนื่องจากแบบประเมินผลพัมนาการสมมารถประเมินผลได้ในวงจำกัดไม่อาจประเมินพฤติกรรมและการเรียนรู้ที่ซับซ้อนได้
3.ไม่มีการบันทึกข้อมูลปลายเปิด อาจขาดการบันทึกพฤติกรรมสำคัญลงไป
1.แบบประเมินผลพัฒนาการสามารถประเมินผลได้ในวงพฤตืิกรรมที่จำกัดเท่านั้น
4.การประเมินผลพัฒนาการครูมีแนวโน้มที่เช็คพฤติกรรมที่เกิดขึ้นของเด็กให้อยู่ในช่วงกลางๆ