Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(Chronic Obstructive Pulmonary Disease) - Coggle Diagram
(Chronic Obstructive Pulmonary Disease)
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยด้านผู้ป่วย เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม มีความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ควันสูบบุหรี่ ควันไฟ การติดเชื้อของปอดและทางเดินหายใจเรื้อรัง
การวินิจฉัย
1.ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ
-ทรวงอกขยายแบบถังเบียร์และการหายใจเร็ว
-ไอมีเสมหะเรื้อรัง
-เล็บนิ้วและมือเขียว นิ้วปุ้ม
-เม็ดเลือดแดงเพิ่ม
ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต หลอดเลือด
การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด
4.การตรวจวิเคราะห์กาซในเลือดแดง
ระดับความรนุแรงของการอุดกั้นหลอดลม
GOLD 1 Mild FEV1 ≥80% predicted
GOLD 2 Moderate 50% ≤FEV1< 80%predicted
GOLD 3 Severe 30% ≤FEV1< 50%predicted
GOLD 4 Very severe FEV1< 30%predicted
พยาธิสภาพ
พยาธิสภาพของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จะพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่หลอดลมขนาดใหญ่หลอดลมขนาดเล็กและเนื้อปอดมีเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบแทรกซ้อนในเยื่อบุทั่วไปพบในเซลล์ที่หลั่งสารมูก (globlet cell) เพิ่มขึ้น และต่อมเสือก(mucous gland)ขยายใหญ่ขึ้น ทำให้สร้างเมือก (mucus) ออกมา มากและเหนียวกว่าปกติการอักเสบและการทำลายที่เกิดซ้ำจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของผนังหลอดลมโดยเฉพาะหลอดลมส่วนปลายที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 2 มิลลิเมตร ทำให้มีการตีบของหลอดลมการเปลี่ยนแปลงของพยาธิวิทยาของปอดนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของสรีรวิทยาในผู้ป่วย
การแบ่งระดับความรุนแรงและการรักษา
ระดับที่ 1 mild
อาการทางคลินิก
-ไม่มีอาการเหนื่อยขณะพัก
-ไม่มีExacerbation
การรักษา
-แนะนำและช่วยให้ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่
-ยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น
-ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่
ระดับที่ 2 Moderate
อาการทางคลินิก
-มีอาการหอบเหนื่อยเล็กน้อย
-มีExacerbation ไม่รุนแรง
การรักษา
-เหมือนระดับที่ 1ร่วมกับให้ยาขยายหลอดลมตามเวลา
-เริ่มการฟื้นฟู
ระดับที่ 3 Severe
อาการทางคลินิก
-มีอาการหอบเหนื่อยจนรบกวนกิจวัตรประจำวัน
-มีExacerbation รุนแรงมาก
การรักษา
-เหมือนระดับที่ 2และเปลี่ยนเป็นยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว ตามเวลา
-ให้ออกซิเจน ให้ยา ICS
ระดับที่ 4 Very Severe
อาการทางคลินิก
-มีอาการหอบเหนื่อยตลอดเวลา
-มีExacerbation รุนแรงมากและบ่อย
การรักษา
-เหมือนระดับที่ 3
-พิจารณาวางแผนชีวิตระยะสุดท้าย
หลัก 5 A ในการเลิกบุหรี่
ask การถามว่าสูบบุหรี่หรือไม่
advice การแนะนำอย่างจริงจังให้เลิกบุหรี่
assessประเมินการติดบุหรี่
assist การช่วยเหลือในการเลิกบุหรี่
arrange ติดตามผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการตีบแคบของหลอดลม
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ
ฟังเสียงการหายใจ
จัดท่านอนศีรษะสูง30-45 องศา(Fowler’s position)
ดูแลให้ออกซิเจน 1 –3 ลิตรต่อนาที
ถ้าหายใจวายพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจและต่อเครื่องช่วยหายใจ
6.ดแูลให้ยาขยายหลอดลม โดยพ่นยา BerodualMDI ทุก 4 ชั่วโมง
ดแูลให้ยา Dexamethasone 4 mg iv ทุก 6 ชั่วโมง
ถ้าผู้ป่วยมีไข้ต้องให้ยาลดไข้
ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดงอย่างสม่ำเสมอ