Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา - Coggle Diagram
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
2.การติดตามตรวจสอบเพื่อควบคุมคุณภาพการศึกษา
3.การประเมินคุณภาพการศึกษา
1.การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553
โรงเรียน
Do
ดำเนินงานตามแผนฯ
Check
ติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เขียนรายงานประจำปี
Plan
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและปฏิบัติการประจำปี
ระบบบริหารและสารสนเทศ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
Act
พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ชั้นเรียน
Do
จัดการเรียนรู้
Check
ติดตามตรวจสอบการจัดการเรียนรู้
ประเมินผลการเรียนรู้
รายงานผลการจัดการเรียนรู้
Plan
แผนการจัดการเรียนรู้
บริหารจัดการชั้นเรียนและสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
มาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตร
Act
พัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
3.เน้นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่ทำเพื่อเตรียมรับการประเมินครั้งคราว
4.เกิดจากความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย ไม่สามารถว่าจ้างหรือขอให้บุคคลอื่นๆ ดำเนินการแทนให้
2.มุ่งพัฒนาการดำเนินงานตามความรับผิดชอบของตนให้มีคุณภาพดี
5.ยอมรับและนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา
1.เป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนที่ต้องปฏิบัติตามภารกิจ
หลักเกณฑ์และแนวดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
1.ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษา
2.มาตรฐานด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
3.มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน
1.มาตรฐานด้านคุณภาพของผู้เรียน
2.การดำเนินงานของสถานศึกษา
3.ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
4.การประเมินคุณภาพภายใน
2.ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
5.ใช้ผลประเมิน เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อเนื่อง
1.กำหนดมาตรฐานการศึกษาการวางแผน
3.การดำเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา
2.ปรับเปลี่ยนบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา การปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ในการประเมินภายในและการประเมินภายนอก
3.ปรับปรุงมาตรฐานผู้ประเมิน
1.ปรับเปลี่ยนแนวคิดการประเมินคุณภาพการศึกษา
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
(Internal Quality Assurance : IQA)
2.พัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน
1.เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสถานศึกษาจะดำเนินการตามข้อตกลงที่กำหนดร่วมกัน
2.มีการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการกำกับติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องให้บรรลุเป้าหมายตามแผน
3.ดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR)
2.เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดเพื่อเตรียมการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป
1.นำข้อมูลผลการประเมินตามมาตรฐานของสถานศึกษามาจัดทำเป็นรายงานการประเมินตนเองเพื่อสะท้อนภาพความสำเร็จของการพัฒนา
1.กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
1.เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา
2.เป็นหลักเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริม กำกับดูแล ตรวจสอบและประเมินผลและการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอก (External Quality Assessment : EQA)
2.รายงานผลการประเมินภายนอก
3.การพัฒนานวัตกรรมจากประเด็นต่าง ๆ (Innovation)
1.มาตรฐานของสถานศึกษา (Internal Correction)
2.การปรับปรุงประเด็นต่าง ๆ ให้ดีขึ้น (Improvement)
1.ประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2.เยี่ยมชมสถานศึกษา (Site Visit)
3.ติดตามและตรวจสอบ
1.วิเคราะห์ SAR
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
กระบวนการดำเนินการประกันคุณภาพ
1.การประเมินคุณภาพภายใน
การติดตามและการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา กระทำโดยบุคลากรของสถานศึกษา หรือโดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
2.การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
กระบวนการติดตามตรวจสอบ “ความก้าวหน้า” ของการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและจัดทำรายงานการติดตามตรวจสอบ
3.การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1.คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ
2.กิจกรรม/โครงการหรือพัฒนานวัตกรรมใดต้องสะท้อนผลที่เกิดกับผู้เรียนได้
2.การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วม
ในการทำงาน (Participation)
3.การแสดงภาระรับผิดชอบ
ที่ตรวจสอบได้(Accountability)
1.การกระจายอำนาจ
(Decentralization)
กระบวนการดำเนินการประกันคุณภาพ
2.การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
3.การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1.การประเมินคุณภาพภายใน
การจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561
การจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561
3.การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
4.ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
2.การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
5.ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
1.การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
6.การทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน