Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Perichondritis with abscess
เยื่อหุ้มกระดูกอ่อนอักเสบและมีฝี hanj3646…
Perichondritis with abscess
เยื่อหุ้มกระดูกอ่อนอักเสบและมีฝี
ความหมาย
Spare ear lobule inflammation เป็นลักษณะของการอักเสบ
ของเยื่อหุ้มกระดูกอ่อนใบหู (perichondritis of ear pinna)
คือ การอักเสบของกระดูกอ่อนใบหู ในระยะต้นจะมีการอักเสบของเยื่อหุ้มกระดูกอ่อนโดยไม่มีน้ำหนอง เรียกว่า perichondritis
ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม โรคจะดำเนินต่อไปทำให้มีน้ำหนองและมีการตายของกระดูกอ่อน เรียกว่า suppurative chondritis
-
สาเหตุ
หูที่เจาะผ่านกระดูกอ่อนเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญและการผ่าตัดแผล
ไฟไหม้รวมไปถึงการฝังเข็มจะเพิ่มความเสี่ยงของการติดเชื้อ
perichondritis สามารถนำไปสู่ chondritis ซึ่งเป็นการติดเชื้อของกระดูกอ่อน อาจทำให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงต่อโครงสร้างหู
เกิดการติดเชื้อ perichondritis คือ Pseudomonas aeruginosa.
-
-
เจาะหู (โดยเฉพาะการเจาะกระดูกอ่อน) และการเจาะหูยังสามารถส่งผลให้เกิดการติดเชื้อ HIV,TB และอื่นๆได้
-
-
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
-
เคยเป็นโรคหูมาก่อนหรือไม่ มีโรคประจำตัวอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น DM, HT และภูมิแพ้ เป็นต้น
-
-
การตรวจร่างกาย
-
ตรวจช่องหู ว่ามีสิ่งผิดปกติหรือไม่ ตรวจด้วยไม้พันสำลี โดยค่อย ๆ แตะที่ช่องหูทั้งส่วนกระดูกและกระดูกอ่อน ถ้าเจ็บปวด ให้ตัดชิ้นเนื้อนั้นส่งตรวจ
-
การตรวจพิเศษ
ถ่ายภาพรังสีของหู คอ จมูก ส่วนที่สงสัยให้ทำ CT scan, MRI และตรวจ Pus culture เพื่อแยกโรคให้ชัดเจนขึ้น
-
อาการและอาการแสดง
-
6.ใบหูเสียรูปลักษณ์ ห่อตัว เป็นลักษณะคล้ายกะหล่ำ เรียกว่า cauliflower ear
-
1.ผิวหนังของรูหูส่วนนอกบวม แดงเฉพาะที่ อาจเห็นลักษณะหัวฝี หรือบวมทั้งหมด ถ้าเป็นมากจะมองไม่เห็นรูหูส่วนนอกเลย
เพราะเกิดการอุดตัน
-
-
-
5.ในรายที่เป็นมาก อาจทำให้ใบหูยื่นไปข้างหน้าได้ บริเวณกระดูก
มาสตอยด์มีการบวมแดงและกดเจ็บ (mastoiditis) หรือมีอัมพาตของเส้นประสาทสมอง (cranial nerve palsy)
-
การรักษา
1.ทำความสะอาดรูหู โดยใช้สำลีพันปลายไม้หรือพลาสติก เช็ดเบาๆด้วยความนุ่มนวล หรือใช้เครื่องดูดของเหลว (suction) ดูดหนอง และเนื้อเยื่อที่ตายหรืออักเสบออก (aural toilet) รวมไปถึงมีการมีการเจาะระบายหนอง
2.รับประทานยาต้านจุลชีพ เพื่อรักษาการติดเชื้อในช่องหูชั้นนอก ประมาณ 7-14 วัน ยาต้านจุลชีพที่ควรเลือกใช้ ถ้าผู้ป่วยไม่ได้แพ้ยา penicillin คือ cloxacillin, dicloxacillin, cephalexin แต่ถ้าผู้ป่วยแพ้ยา penicillin อาจพิจารณาเลือกใช้ยา clindamycin แทน ถ้าเป็น acute diffuse otitis externa มักเกิดจากเชื้อ Pseudomonas aeruginosa ยาต้านจุลชีพที่ควรเลือกใช้คือยา antipseudomonas quinolones เช่น ciprofloxacin, levofloxacin
3.ใช้ยาหยอดหูซึ่งมียาต้านจุลชีพหรือยาสเตียรอยด์ หยอดวันละ 3-4 ครั้ง (ยกเว้นรายที่ไม่มีการแตกของฝี) ในทางปฏิบัติแนะนำให้ใช้ยาต้านจุลชีพ ที่มีส่วนผสมของทั้ง polymyxin B และ neomycin ก่อนเนื่องจากคลุมเชื้อแบคทีเรียส่วนใหญ่ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในหูชั้นนอกได้ดี ซึ่งยาประเภทนี้ครอบคลุมเชื้อแกรมลบได้ จึงมักใช้ในรายที่มีการติดเชื้อแกรมลบรุนแรง เช่น ดื้อยาต่างๆ
4.ถ้ารูหูส่วนนอกบวมมาก ไม่สามารถหยอดยาหยอดหูลงไปได้ ควรใช้ผ้าก๊อซเล็กๆ (ear wick) ชุบยาหยอดหูที่มีส่วนผสมของยาสเตียรอยด์ เพื่อช่วยลดบวม ใส่ไว้ในรูหูชั้นนอกประมาณ 24 ชั่วโมง เมื่อรูหูส่วนนอกยุบลง และมีรูให้ยาหยอดหูผ่านเข้าไปได้ จึงเอา ear wick ออก
-
6.ในรายที่เป็นหูชั้นนอกอักเสบชนิดร้ายแรง ซึ่งมักพบในผู้ป่วยโรคเบาหวาน, ผู้ป่วยอายุมาก, ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง, ผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการฉายรังสีหรือได้รับยาเคมีบำบัด, ผู้ป่วยที่ได้รับยาสเตียรอยด์เป็นระยะเวลานานๆ และมักมีเชื้อที่มักเป็นสาเหตุคือ Pseudomonas aeruginosa แพทย์จะรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล และให้ยาต้านจุลชีพ antipseudomonas ทางหลอดเลือด
จากข้อมูล ผู้ป่วยทำแผลวันละ 2 ครั้ง มีการรับประทานยา Paracetamol เมื่อปวด และมีการเจาะระบายหนองที่ใบหู
การป้องกัน
1.ไม่ควรพยายาม แคะ หรือเขี่ย หรือเช็ดขี้หูออก หรือทำความสะอาดหูโดยใช้ไม้พันสำลี นิ้วมือ หรือวัตถุใดๆก็ตาม
-
-
4.ผู้ป่วยที่ต้องเช็ดหู ทำความสะอาดหูทุกครั้งหลังการอาบน้ำ เนื่องจากมีน้ำเข้าไปในช่องหูแล้วเกิดความรู้สึกรำคาญ ควรใช้สำลีหรือวัสดุอุดรูหู (ear plug) ทุกครั้งขณะอาบน้ำ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำเข้าหู
-
ภาวะแทรกซ้อน
มักเกี่ยวข้องกับสาเหตุการเกิด เช่น บาดเจ็บจากการผ่าตัดหรืออุบัติเหตุ จะส่งผลให้เกิดการเสียเลือดเป็นจำนวนมาก อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะช็อก โลหิตจางหรือซีดได้