Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างและการทำงานของร่างกายมนุษย์, 1, S__5488674, S__5488673, S_…
โครงสร้างและการทำงานของร่างกายมนุษย์
ระบบปกคลุมร่างกาย (integumentary system)
หน้าที่ของผิวหนัง
สังเคราะห์วิตามินดี
รักษาอุณหภูมิร่างกาย
ป้องกันการเสียน้ำ
รับความรู้สึก
หนังกำพร้า (Epidermis)
ไม่มีหลอดเลือดมาเลี้ยงแต่ได้รับสารอาหารและถ่ายของเสียโดยการแพร่ผ่านหนังแท้ประกอบด้วยเยื่อบุผิวซ้อนกันอยู่เซลล์ผิวหนังเรียงตัวกันเป็นชั้นๆ เซลล์ใหม่สร้างจากชั้นล่างสุดแล้วเคลื่อนตัวสู่ชั้นบนเรื่อยๆ
Keratinized stratified squamous epithelium
มี 4 ชนิด
Keratinocytes สร้างเคราติน
Melanocytes สร้างเม็ดสี
Merkel cells เซลล์รับความรู้สึก
Langerhans cells กำจัดเชื้อโรค
หนังแท้ ( Dermis )
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน :
แข็งแรง ยืดหยุ่น
มีปลายประสาทรับความรู้สึก
ต่อมเหงื่อ ต่อมไขมัน
รากขน
หลอดเลือด
Skin appendages ส่วนอื่นๆของผิวหนัง
Derived from epidernis but extent into dermis อยู่บริเวณผิวหนังชั้นนอกแต่ลงลึกถึงชั้นกลาง
โครงสร้างผม
Hair follicle ขุมขนเป็นส่วนของหนังกำพร้าและหนังแท้ ยื่นลึกเข่้าไปเยื่อใต้หนัง มาประกอบท่อล้อมรอบรากขน มีท่อต่อมไขมันมาเปิดสู่ขุมขน
Shaft รากขนเป็นส่วนของขนที่โผล่พ้นผิวหนังขึ้นมา
Root รากขนเป็นส่วนที่ฝังอยู่ในรูผิวหนังเฉียงๆ
Hair bulb เป็นส่วนลึกของรากขนโปร่งเป็นกระเปาะและมีส่วนของหนังแท้ยื่น เข้าไปภายในกระเปาะนี้
ขนเจริญเกือบทั่วร่างกาย ยกเว้นบางแห่งเช่น หัวนม สะดือ ขอบปาก ฝ่ามือ ฝ่าเท้า และด้านหลังของนิ้วปล้องสุดท้าย
ขนหรือผมเจริญมาจากหนังกำพร้าชั้นลึก
ผม ( hairs )
เล็บ
เจริญมาขจากหนังกำพร้า เป็นแผ่นแข็งยืดหยุ่นได้ อยู่ด้านหลังของปลายนิ้วมือนิ้วเท้าปล้องสุดท้าย
การงอกเฉลี่ยประมาณ 1 มิลลิเมตร ใน 1 สัปดาห์ หรือ 3 มิลลิเมตร ใน 1 เดือน เล็บเท้าจะงอกช้ากว่าเล็บมือ
Sweatglands ต่อมเหงื่อ
พบทุกที่ยกเว้นหัวนมและอวัยวะสืบพันธุ์
ป้องกันอาการร้อนเกิน
มี 500 cc - 12 ลิตรต่อวัน
Sebaceous (oil) glands ต่อมไขมัน
พบทุกที่ยกเว้นฝ่ามือฝ่าเท้า
สารที่สร้างน้ำมัน
Cell
Cytoplasm
หน้าที่
บริเวณเกิดปฏิกิริยาเคมีของเซลล์
สลายวัตถุดิบให้ได้พลังงานของเซลล์ : Mitochondrin
สังเคราะห์สารที่จำเป็นสำหรับเซลล์ ER
เก็บวัตถุดิบสำหรับเซลล์ : Golgi apparatus
ขับถ่ายของเสีย : Lasosome
Organelle โครงสร้างย่อยๆ
Cytosol ลักษณะคล้ายเจลลี่ ส่วนใหญ่เป็นน้ำ
Inclusion สิ่งแขวนลอยต่างๆ
Cell membrane
เยื่อหุ้มเซลล์เป็นเยื่อบางๆ มีโครงสร้าง 2 ชั้น (นอก/ใน) ประกอบด้วยไข้มันเป็นส่วนใหญ่ มีโปรตีนฝังตัวกระจายอยู่ทั่วไป มีคาร์โบไฮเดรต cholesterol ปนอยู่ด้วย
หน้าที่
เป็นกำแพงยอมให้สารบางชนิดผ่อาน
มีโปรตีนบางชนิดฝังอยู่เพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีเกี่ยวกับการทำงานของเซลล์
มีการเปลี่ยนโครงสร้างเพื่อทำหน้าที่พิเศษบางอย่าง เช่น microvilli,villi,stereocillia,junction complex
Nucleus
ประกอบด้วย
chromatin เป็นองค์ประกอบของ DNA และโปรตีนชนิดต่างๆเรียงตัวกันเป็นตาข่าย มีหน้าที่ในการถ่ายทอดทางพันธุกรรมและการแบ่งเซลล์ โดยแบ่งเป็นท่อน เรียกว่าโครโมโซมซึ่งบนเส้นใยจะมียีนส์อยู่ ซึ่งในมนุษย์จะมียีนส์ 46 แท่ง (23 คู่)
nucleolus เป็นเม็ดเล็กๆมีหน้าที่สร้าง rRNA และ protein
หน้าที่
ควบคุมการแสดงลักษณะทางพันธุกรรม
การแบ่งตัวของเซลล์
ควบคุมการสร้างโปรตีน
มีลักษณะทรงกลม อยู่กลึ่งกลางเซลล์
Organelles
Ribosome ทรงกลมตัน ไม่มีเปลือกหุ้ม ประกอบด้วย rRNA และโปรตีน มีหน้าที่สร้างโปรตีน
Cytoskeleton เป็นเส้นใยโปรตีนที่สานกันเป็นร่างแหภายในเซลล์ทำหน้าที่เป็นโครงรางให้เซลล์ลงรูป
mitochondria ลักษณะเป็นแท่ง ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ในรูปของ ATP สังเคราะห์โปรตีน ไขมันและ nucleic acid
ER ท่อขนาดเล็กทำหน้าที่สังเคราะห์และนำสารในเซลล์ออกจากเซลล์ มี 2 ชนิด คือ REC สร้างโปรตีน SER สร้างไลปิด
Golgi apparatus ทำหน้าที่เติมองค์ประกอบที่เป็นคาร์โบไฮเดรตหรือไขมันให้กับโปรตีนที่สร้างจาก RER และสิ่งที่เซลล์สร้างขึ้นเพื่อส่งออกภายนอก
Lysosome เป็นแหล่วงย่อยอาหารภายในเซลล์ ทำลายสิ่งแปลกปลอมทำลายเซลล์ที่เสื่อมสภาพ
Cell devision
การแบ่งนิวเคลียส Karyokinesis
มี 2 แบบ
แบ่งแบบไมโทซิส (mitosis) เพื่อเพิ่มจำนวนของเซลล์ในร่างกาย ในการเจริญเติบโต เมื่อสิ้นสุดจะได้ 2 เซลล์ใหม่ที่มีโครโมโซมเท่าๆกัน และเท่าเซลล์ตั้งต้น
แบ่งแบบไมโอซิส (meiosis) เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ มีการลดจำนวนโครโมโซมจาก 2n เป็น n
การแบ่งแบบไซโทพลาสซึม Cytokinesis
มี 2 แบบ
-แบบที่เยื่อหุ้มเซลล์คอดกิ่วจาก 2 ข้าง เข้าใจกลางเซลล์ เรียกว่าแบบ furrow type ซึ่งพบในเซลล์สัตว์
-แบบที่มีการสร้างเซลล์เพลท มาก่อตัวบริเวณกึ่งกลางเซลล์ขยายไป 2 ข้างของเซลล์ เรียกว่าแบบ cell plate type พบในเซลล์พืข
ผนัง ( membrane )
เยื่อหุ้มมิวคัส ( Mucous membrane )
ทำหน้าที่หลั่งสารที่เหนียวและข้น เพื่อช่วยในการหล่อลื่นและปกป้องอวัยวะต่างๆโดยปกคลุมอยู่ตามช่องและท่อที่ติดต่อกับภายนอก เช่น ช่องจมูก ช่องปาก หลอดลม หลอดอาหาร เป็นต้น
เยื่อหุ้มซีรัส ( Serous membrane )
ทำหน้าที่หลี่งสารใสคล้ายน้ำ เพื่อช่วยให้ลื่นป้องกันไม่ให้อวัยวะเสียดสีกัน ในบริเวณช่องว่างของร่างกายที่ไม่ติดกับภายนอก เช่น ช่องท้อง ช่องปอด หัวใจ เป็นต้น
เยื่อหุ้มไซโนเวียล ( Synovial membrane )
อยู่ภายในช่องว่างของข้อต่อ ทำหน้าที่หลั่งน้ำไขข้อ ช่วยในการหล่อลื่นบริเวณอวัยวะบริเวณข้อต่อและส่งอาหารให้แก้ปลายกระดูกอ่อนที่ปลายข้อต่อ เช่น ข้อศอก ข้อเท้า ข้อมือ ข้อเข่า เป็นต้น
ผิวหนัง ( Cutaneous membrane )
หนังกำพร้า ( Epidernis ) ชั้นขี้ไคล
หนังแท้ ( Dermis) มีขน ผม
อวัยวะอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับผิวหนัง
เล็บ ( Nail)
ขน (hair)
ต่อมเหงื่อ (sweat gland)
ต่อมน้ำมัน (sebaceousgland)
เนื้อเยื่อ ( tissue )
ชนิดของเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อบุผิว (epithelium tissue)
เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ( connective tissue)
เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ ( muscle tissue)
เนื้อเยื่อประสาท (nervous tissue)
เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ( Connective tissue )
ชนิดของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันสมบูรณ์ (connective tissue proper)
กระดูกอ่อน (cartilage)
กระดูกแข็ง ( bone)
เลือด (blood)
เซลล์ในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
Fibroblast ทำหน้าที่สร้างเส้นใยชนิดต่างๆ
Adipose cell เป็นเซลล์ที่สะสมไขมัน
Macrophage หน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอม
Mast cell เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างกลมหรือรีภายในมีแกรนูลย้อมติดสีม่วงเข้มบรรจุอยู่ ทำหน้าที่สร้าง heparin,histamine
Plasma cell หน้าที่สร้างแอนติบอดีที่มีความสำคัญในระบบภูมิคุ้มกัน
White blood cell or leukocytes ทำหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย
เป็นเนื้อเยื่อที่มีเซลล์มารวมกันแต่น้อยกว่าเยื่อบุผิว แตามีสารระหว่างเซลล์มากกว่า มักแรกอยู่ทั่วไปในร่างกาย มีหน้าที่ยึดโครงร่างของร่างกาย รองรับและหุ้มรอบเนื้อเยื่ออื่นๆ ให้อาหารอวัยวะที่อยู่บริเวณนั้นๆ ซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ช่วยปกป้องร่างกายต่อสู้เชื้อโรค
ตัวเซลล์
เส้นใยกระจายอยู่ในสารระหว่างเซลล์
collagen fiber, elastic fiber , reticular fiber
เส้นใยในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
Elastic fiber เป็นเส้นใยที่มีความยืดหยุ่นมาก แตกแขนงย่อยส่งไปเชื่อมกับแขนงของเส้นอื่น
Reticular fiber คล้ายเส้นใยคอลลาเจน แต่บางกว่ากระจายอยู่ทั่วไป เส้นใยชนิดนี้จะมองไม่เห็นถ้าย้อมด้วยสีย้อมเนื้อทั่วไป ต้องย้อมด้วยสี silver stain
Collagen fiber เป็นเส้นเหนียวแข็งแรง อยูารวมกันเป็นมัดใหญ่ๆ
เนื้อเยื่อบุผิว (epithelium tissue)
แบ่งตามรูปร่างเซลล์
Squamous epithelium รูปร่างแบนบาง
Cuboidal epithelium รูปลูกบากศ์
Columnar epithelium รูปทรงกระบอก
แบ่งตามการเรียงตัวของเซลล์
simple epithelium เรียงตัวชั้นเดียว
stratified epithelium เรียงตัว 2 ชั้นขึ้นไป
pseudostratified epithelium เรียงตัวกันเหมือนกับเซลล์ที่อยู่ซ้อนกันหลายๆชั้นแต่ที่จริงมีแค่ชั้นเดียว
: