Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน (Fetal distress) - Coggle Diagram
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
(Fetal distress)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การไหลเวียนเลือดไปสู่รกไม่เพียงพอ (Utero-placenta Insufficiency: UPI)
มารดามีความดันโลหิตต่ำ (maternal hypotension) จากสาเหตุต่าง ๆ
การทำหน้าที่ของรกไม่เป็นไปตามปกติ (placental dysfunction)
มดลูกมีการหดรัดตัวมากกว่าปกติ (uterine hyperactivity)
ภาวะที่สายสะดือถูกกด (umbilical cord compression)
อาการและอาการแสดง
มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ (meconium stained of amniotic fluid)
Moderate meconium stained
Thick meconium stained
Thin หรือ mild meconium stained
ทารกดิ้นน้อยลง
อัตราการเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ (abnormal FHR pattern)
ทารกมีภาวะเลือดเป็นกรด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย และการตรวจครรภ์
จังหวะการเต้นไม่สม่ำเสมอ
ไม่ได้ยินเสียงหัวใจของทารก
ในระยะคลอดจากการติดตั้งเครื่อง electronic fetal monitoring (EFM)
ตรวจพบขี้เทา (meconium) ในน้ำคร่ำปริมาณเข้มข้น
พบเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ผิดปกต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Fetal scalp blood sampling
การประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์ด้วยวิธี non- stress test (NST)
การซักประวัติ
การรักษา
หยุดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก เพื่อลดการทำงานของมดลูกและช่วยเพิ่มการไหลเวียนเลือด
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเพื่อเพิ่มอัตราการไหลเวียนของเลือด
ให้ออกซิเจน 4 L/min ทาง nasal canular หรือ 8-10 L/min ทาง face mas
การเติมน้ำในโพรงมดลูก (amnioinfusion)
จัดท่านอนมารดา โดยให้นอนตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดเส้นเลือด aorta และ inferior vena
cava จากมดลูก เพื่อการไหลเวียนของเลือดและป้องกันการเกิด supine hypotension
ระยะคลอดพิจารณาช่วยคลอดทางสูติศาสตร์หัตการ
แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำของมารดา
การพยาบาล
การเฝ้าระวังและป้องกันทารกในครรภ์ระยะตั้งครรภ
ในระยะตั้งครรภ์แนะนำการนับลูกดิ้น
ให้สตรีตั้งครรภ์สังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ทันที
ประเมินและวินิจฉัยความเสี่ยงของการเกิดภาวะ fetal distress
แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอเพื่อติดตามและประเมินทารกในครรภ
ระยะคลอด
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ และจัดท่านอน upright position
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกและเสียงหัวใจทารกตามระยะของการคลอด
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวตามแผนการรักษา
ในรายที่มีถุงน้ำคร่ำแตก ควรประเมินลักษณะของน้ำคร่ำ ตรวจภายใน
ดูแลให้การดำเนินการคลอดเป็นไปตามปกต
ประเมินและพบว่าทารกในครรภ์อยู่ในภาวะขับขัน