Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
ค่าความดันโลหิตซิสโตลิก ตั้งแต่140 มิลลิเมตรปรอทและความดันโลหิตไดแอสโตลิกตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอท
Target organ damage(TOD)
ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
microalbuminuria
หัวใจห้องล่างซ้ายโต
Hypertensive retinopathy
Cardiovascular disease (CVD)
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคของหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่
โรคหัวใจล้มเหลว
โรคของหลอดเลือดแดงส;วนปลายที่มีอาการ
การตรวจหลอดเลือดแล้่วพบ Atheromatous plague และรวมถึงAtrial fibrillation
Hypertensive urgency
ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทําลาย
Hypertensive emergency
ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท
มีการทําลายของอวัยวะเป้าหมาย อาจมีอาการของ Acute MI, Stroke, และKidney failure
Hypertensive crisis หรือ Hypertensive emergency
ภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลันสูงกว;า 180/120 มม.ปรอท และทําให้เกิดการทําลายของอวัยวะเปsาหมาย (target organ damage, TOD)
สาเหตุ
Sudden withdrawal of antihypertensive medications
Acute or chronic renal disease
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทําให้ความดันโลหิตสูง
ยาคุมกําเนิด
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
Exacerbation of chronic hypertension
อาการและอาการแสดง
hypertensive encephalopathy
ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
Acute cardiovascular syndromes
Unstable angina
Myocardial infarction
Pulmonary edema
Aortic dissection
การซักประวัติ
ซักประวัติการเป็นโรคประจําตัว
โรคความดันโลหิตสูง
ความสม่ําเสมอในการรับประทานยา
ผลข้างเคียงของยาที่ใช้
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ โรคอื่นๆที่เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง
coarctation ของ aorta
renal artery stenosis
อาการของอวัยวะที่ถูกผลกระทบจากโรคความดันโลหิตสูง (target organ damage, TOD)
โรคหลอดเลือดสมอง
Headache
blurred vision
change in level of consciousness
Coma
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
chest pain
ไตวายเฉียบพลัน
ปริมาณปัสสาวะลดลง หรืออาจไม่มีการขับถ่ายปัสสาวะ
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา
น้ําหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
โรคหลอดเลือดสมอง
แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
blurred vision
change in level of consciousness
Coma
ตรวจจอประสาทตา
ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressureตรวจ retina
ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages แสดงว่า มีการแตกของ retina blood vessels และ retina nerves ถูกทําลาย
Chest pain
acute coronary syndrome or aortic dissection
อาการของ oliguria or azotemia (excess urea in the blood)
ภาวะไตถูกทําลาย
Aortic dissection
ให้คลําชีพจรที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง และวัดความดันโลหิตที่แขนทั้ง 2 ข้าง จะแตกต่างกันอย่างชัดเจน
pseudohypotension
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ตรวจการทํางานของไตจากค่า Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค;าอัลบูมินในปnสสาวะ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12-lead ECG) และ chest X-ray
ในรายที่สงสัยความผิดปกติของสมอง
ส่งตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง
การรักษา
Hypertensive crisis
ให้การรักษาทันทีใน ICUและให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดํา
รักษาสาเหตุที่ทําให้เกิด Hypertensive crisis
ยาลดความดันโลหิตที่พึงประสงค์ควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็วเมื่อหยุดยา
vasodilator, adrenergic blocker, calcium channel blocker เป็นต้น
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ได้แก่ neurologic, cardiac, and renal systems
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการลดลงของความดันโลหิตอย่างรวดเร็ว
ให้ความรู้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต และเหตุผลที่ต้องติดอุปกรณ์ที่ใช้เฝsาระวังต่างๆ
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ช;วยเหลือผู้ป่วยในการทํากิจกรรม เช่นการจัดท่านอนให้สุขสบาย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ
วิตกกังวล
พร่องความรู้
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็วจากการทํางานผิดปกติของหัวใจทั้งการบีบตัวหรือการคลายตัวของหัวใจ การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ หรือการเสียสมดุลของpreload และafterload
พยาธิสรีรวิทยา
การเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน เกิดได้จากหลายสมมติฐาน ทั้งการคั่งของน้ําและเกลือแร่ ความผิดปกติของการไหลเวียนโลหิต ความผิดปกติทางระบบประสาทและฮอร์โมน ภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรัง ภาวะที่มีความผิดปกติของหัวใจทําให้มีปริมาณเลือดในหัวใจมากเกินไป ในระยะเวลานานทําให้หัวใจทํางานหนักมากขึ้น มีการปรับตัวของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ (heterometric compensation)เกิดพังผืด เซลล์ตาย กล้ามเนื้อหัวใจหนา เป็นผลให้ประสิทธิภาพการทํางานของหัวใจลดลง ร่างกายจึงมีการปรับสมดุล (compensatory mechanism)
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ ภาวะหัวใจวาย กลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน เป็นต้น
จจัยกระตุ้น
ความผิดปกติทางหัวใจและหลอดเลือด
ความผิดปกตินอกระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาการและอาการแสดง
Hypertensive acute heart failure
Pulmonary edema
Acute decompensated heart failure
Cardiogenic shock
High output failure
Right heart failure
อาการและอาการแสดง
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย บวมตามแขนขา ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ํ่ำ/สูง ท้องอืดโต แน่นท้อง ปัสสาวะออกน้อยมาก หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว เส้นเลือดดําที่คอโป่งพอง ฟังได้ยินเสียงปอดผิดปกติ(Lung crepitation) เป็นต้น
การรักษา
การให้ยาขับปnสสาวะ, การจํากัดสารน้ําและเกลือโซเดียม การเจาะระบายน้ํา
การใช้ยา
ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจเช่น digitalis (digoxin)
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ เช่น amiodarone
ยาขยายหลอดเลือดหัวใจเช่น nitroglycerine/isodril(NTG)
ยาขยายหลอดเลือด เช่นsodium nitroprusside (NTP)
ยาที่ใช้ในช็อคเช่น adrenaline, dopamine, dobutamine, norepinephrine (levophed)
ยาบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก เช่น morphine
ยาละลายลิ่มเลือด เช่น coumadin
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด เช่น aspirin, plavix, clopidogrel
ntra-aortic balloon pump, การให้ออกซิเจน, การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Cardiac pacemaker), การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน (Percutaneous coronary intervention)
การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี, การเปลี่ยนลิ้นหัวใจในโคโรนารี, การรักษาภาวะติดเชื้อ
การประเมินสภาพ
การซักประวัติและตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการทางคลินิกที่เกี่ยวข้อง
าการเจ็บหน้าอก อาการหอบเหนื่อย ภาวะบวม การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, biochemical cardiac markers, ABG
การตรวจพิเศษ
CXR, echocardiogram, CT, coronary artery angiography (CAG)
การพยาบาล
การลดการทํางานของหัวใจ
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ําและเกลือแร่ในร่างกายและความผิดปกติทางด้านจิตใจ
ตัวอย่างข้อวินิจฉัย
เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอเนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจหดรัดตัวไม่เต็มที่ /การเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นและจังหวะของหัวใจ
เสี่ยง / ภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
ได้รับอาหารและพลังงานไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เนื่องจาก รับประทานอาหารได้น้อยจากการหอบเหนื่อย
มีความต้องการพลังงานมากขึ้น เนื่องจาก มีภาวะเจ็บป่วยวิกฤต / หายใจหอบเหนื่อย / เบื่ออาหาร
กิจกรรมการพยาบาล
การลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาลด/ควบคุม จังหวะหรืออัตราการเต้นของหัวใจ
ดูแลจํากัดกิจกรรมแบบสมบูรณT (Absolute bed rest)หรือช่วยในการทํากิจกรรม
ดูแลให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับการไหลเวียนเลือด
การลดการทํางานของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดเลือดตามแผนการรักษา
การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาช่วยเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ได้รับสารน้ําและอาหารอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
ดูแลการทํางานของเครื่องกระตุ้นจังหวะหัวใจ
ภาวะช็อก (Shock)
ภาวะช็อกเป็นภาวะที่ร่างกายเกิดความผิดปกติจากกลุ่มอาการต่างๆ หรือความผิดปกติจากทางสรีรวิทยาเป็นผลให้เกิดการไหลเวียนโลหิตไปยังอวัยวะต่างๆไม่เพียงพอทําให้ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ (poor tissue perfusion) เสียสมดุลของการเผาผลาญระดับเซลล์อวัยวะต่างๆขาดออกซิเจนและสูญเสียหน้าที่(Organ dysfunction)
พยาธิสรีรวิทยาและพยาธิสภาพ
เมื่อการทํางานของสรีรวิทยาของการไหลเวียนโลหิตลhมเหลว อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่ง ทําให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อการหดตัวหนึ่งครั้ง (Stoke volume)และปริมาณของเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาที(Cardiac output, CO)ลดลงเป็นผลให้ระดับความดันโลหิตตัวบนลดต่ําลง(SBP < 90 mmHg.) เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการนําออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อส่วนปลาย(DO2) และทําให้เกิดการขาดออกซิเจนในระดับเซลล์ร่างกายจะตอบสนองต่อความผิดปกตินี้โดยการกระตุ้นระบประสาทซิมพาเธติก
ระยะของช็อก
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่เริ่มต้น ได้รับการรักษาทั้งการให้สารน้ําและยาที่เหมาะสม ผลการรักษาจะดีและมีภาวะแทรกซ้อนเพียงเล็กน้อย
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย (Decompensated shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า เซลล์ในร่างกายเริ่มตาย การทํางานของอวัยวะต่างๆลดลง ก่อนได้รับการรักษาที่เหมาะสม
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้ (Irreversible shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยช้าเกินไป จนทําให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆในร่างกายไ้7รับความเสียหายเป็นอย่างมาก
ประเภทของช็อก
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ํา(Hypovolemic shock)
สาเหตุ
การสูญเสียเลือด
การสูญเสียสารน้ํา
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว(Cardiogenic shock)
สาเหตุ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจและผนังหัวใจ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว(Distributive shock, vasogenic / vasodilatory shock, Inflammatory shock)
เป็นภาวะช็อกที่มีสาเหตุจากหลอดเลือดส;วนปลายขยายตัว ทําให้เกิดการลดลงของแรงต้านทานของหลอดเลือด (SVR)ร่วมกับมีการไหลเวียนเลือดในระบบลดลงจากการไหลเวียนของเลือดลัดเส้นทาง (Maldistribution หรือ shunt)
สาเหตุการเกิด
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ(Septic shock)
ภาวะช็อกจากการแพ้(Anaphylactic shock)
ภาวะช็อกจากการทํางานผิดปกติของต่อมหมวกไต(Hypoadrenal /adrenocortical shock)
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ(Obstructive shock)
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท(Neurogenic shock)
อาการและอาการแสดง
ประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ เซลล์สมองตาย
หัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเบาเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หลอดเลือดส่วนปลายหดตัว ผิวหนังเย็นซีด
หายใจ
หายใจเร็วลึก ระดับออกซิเจนในเลือดต่ํา ระบบหายใจล้มเหลว
ไตและการขับปัสสาวะ
ปัสสาวะออกน้อย
ทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารและลําไส้ขาดเลือด ตับอ่อนอักเสบ ดีซ่าน การย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ ตับวาย
เลือดและภูมิคุ้มกัน
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วร;างกาย เม็ดเลือดขาวทํางานบกพร่อง
ต่อมไร้ท่อ
น้ําตาลในเลือดสูงหรือต่ํา ภาวะร่างกายเป็นกรด
การรักษา
การแก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ
การให้สารน้ํา ได้แก่Crystalloid solution
การให้ยาที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ (Inotropic agent)และการหดตัวของหลอดเลือด (Vasopressor agent)
การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
การรักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก เช่น การให้ยาปฏิชีวนะ
การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย ได้แก่ การประเมินทางเดินหายใจ การประเมินลักษณะและอัตราการหายใจ เป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น CBC, BUN, Cr, electrolyte
การซักประวัติ เพื่อหาสาเหตุของภาวะช็อกที่เกิดจากการเจ็บป่วย
การตรวจพิเศษ เช่น x-ray, CT, echocardiogram, ultrasound.
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยง / ภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
เสี่ยง / ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง เนื่องจากการสูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุ
เสี่ยง / การกําซาบเนื้อเยื่อไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
ผู้ป่วย/ครอบครัว มีภาวะวิตกกังวล เนื่องจาก ภาวะเจ็บป่วยวิกฤต / การทําหัตการในการรักษา / สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
กิจกรรมการพยาบาล
การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ระเมินภาวะขาดออกซิเจน โดยการติดตามสัญญาณชีพทุก 1ชั่วโมง ประเมินระดับความรู้สึกตัว อาการเขียวจากริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้า ค;าความอิ่มตัวของออกซิเจน ABG
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง มีการระบายอากาศที่ดี โดยการดูดเสมหะ จัดท่านอนศีรษะสูง กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ดูแลให้สารน้ําและอิเล็กโตรไลท์ทดแทนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ยา (Dopamine, Dobutamine, Epinephrine Norepinephrine) เพื่อส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตตามแผนการรักษา
ดูแลจัดท่านอนหงายราบ ยกปลายเท้าสูง 20-30 องศา เพื่อให้เลือดไหลกลับเข้าสู่หัวใจได้ง่ายขึ้น
การแก้ไขสาเหตุที่ทําให้เกิดภาวะช็อก
ดูแลเตรียมให้ได้รับการตรวจเพื่อหาสาเหตุ เช่น การทําgastric lavage การทํา EGD (กรณีช็อกจากการสูญเสียเลือด)
เตรียมผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับการทํา PTCA, CABG
ดูแลให้ยาละลายลิ่มเลือดตามแผนการรักษาเพื่อแก้ไขภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย (กรณีช็อกจากภาวะหัวใจล7มเหลว)
ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต่อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น
ให้ข้อมูล อธิบายเหตุผลก่อนทํากิจกรรมการพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้ระบายความรู้สึก วิตกกังวล และซักถามข้อข้องใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล ให้เกียรติผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วมในการวางแผนการพยาบาล
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac arrhythmias: Sustained AF, VT, VF)
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้า (ectopic focus)ใน atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ําเสมอและไม่ประสานกัน ทําให้ atriumบีบตัวแบบสั่นพริ้ว และคลื่นไฟฟ้าไม่สามารถผ่านไปยัง ventricle ได้ทั้งหมด
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF
AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า(Electrical Cardioversion)
Persistent AF
AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Permanent AF
AFที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF
AFที่เกิดซ้ํามากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF
AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
สาเหตุ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery)
hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลําชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ให้ยาAnticoagulationเพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือด (thromboembolism)
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทํา Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ (rate control)และจังหวะ(rhythm control)ให้กลับไปสู่ sinus rhythm
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟsาความถี่สูง(Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ventricle เป็นจุดกําเนิดการเต้นของหัวใจ ในอัตราที่เร็วมากแต่สม่ําเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ประเภทของ VT
Nonsustained VT
VTที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT
VTที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที ซึ่งมีผลทําให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT
VT ที่ลักษณะของ QRS complexเป็นรูปแบบเดียว
olymorphic VT หรือ Torsade
VT ที่ลักษณะของ QRS complexเป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
โรคหัวใจรูห์มาติก (Rheumatic heart disease)
ถูกไฟฟ้าดูด
ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction)
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ํา
พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity)
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ํา หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลําบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผู้ป่วยที่เกิด VTและคลําชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยในการทํา synchronized cardioversion
คลําชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จํานวนปัสสาวะ
ในผู้ป่วยที่เกิด VTและคลําชีพจรไม่ได้ (Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่องDefibrillatorเพื่อให้แพทย์ทําการช็อกไฟฟ้าหัวใจ ในระหว่างเตรียมเครื่องให้ทําการกดหน้าอกจนกว่าเครื่องจะพร้อมปล่อยกระแสไฟฟ้า
นําเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดําเพื่อให้ยาและสารน้ํา
ทํา CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ventricle เป็นจุดกําเนิดการเต้นของหัวใจตําแหน่งเดียวหรือหลายตําแหน่ง เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ําเสมอ
สาเหตุที่ทําให้เกิด VF และ Pulseless VT
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที คือ หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้ และเสียชีวิต
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทํา CPR ทันที เนื่องจากการรักษา VFและ Pulseless VTสิ่งที่สําคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที และการกดหน้าอก
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยว่ามียาชนิดใดที่มีผลต่อ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ หรือไม่ ถ้าพบให้รายงานแพทย์ทันที
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยเฉพาะ ST segment
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สําหรับทํา synchronized cardioversion
ทํา CPRร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย ในกรณีเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง (lethal dysrhythmias)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ