Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 2 การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ
โรคมือ เท้า และปากเปื่อย
Hand Foot Mouth Disease
เชื้อที่พบบ่อย คือ coxsackie A16 รองลงมาคือ enterovirus71
การติดต่อ
ทาง fecal-oral
Respiratory route
ระยะฟักตัว 2-6 วัน
อาการ
มีไข้ต่ำๆ เจ็บคอ มีผื่นขึ้น
ผื่นเริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ เจ็บ < ตุ่มน้ำ 3-7 mm < ตุ่มใสขนาด 1-3 mm. < แตกเป็นแผล
อาการเจ็บปาก พบมีรอยโรคในบริเวณปาก มือ และเท้าตามมา
ทางระบบประสาท เช่น สมอง เยื่อหุ้มสมอง หรือเนื้อสมองอักเสบ
ทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาการท้องเสีย ถ่ายเหลว
ทางตา มักพบเยื่อบุตาอักเสบ
รอยโรคที่ปาก
มีรอยโรค 5-10 เเห่ง ,พบบ่อย คือ เพดานปาก ลิ้น และเยื่อบุกระพุ้งแก้ม
ลักษณะเป็นรอยสีแดง นูน 2-8 mm. เป็นตุ่มน้ำสีเทาขอบเเดง
รอยโรคที่ผิวหนัง
มีจำนวน 2-3 แห่งไปจนถึง 100 แห่ง พบมากที่มือ เป็นรอยเเดงนูน 2-10 mm.
ตรงกลางสีเทา
หลังจากนั้น 2-3 วัน จะค่อยๆเริ่มตกสะเก็ด หายไปภายใน 7-10 วัน
การวินิจฉัย
ดูจากอาการและอาการแสดง ตรวจพบรอยโรคร่วมกับมีไข้
พบเม็ดเลือดขาวชนิดneutrophil และ lymphocyte เพิ่มขึ้น
ตรวจร่องรอยการติดเชื้อจากน้ำเหลือง
การส่งน้ำไขสันหลัง ตรวจทาง serology, PCR technique
การติดต่อ
สารคัดหลั่งจากจมูก , ลำคอ และน้ำจากในตุ่มใส
อุจจาระของผู้ป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสอยู่
ไม่สามารถติดต่อจากคนสู่สัตว์ หรือจากสัตว์สู่คน
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย
ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว และเจ็บปาก
ก้านสมองอักเสบ
สมองและเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
aseptic meningitis
poliomyelitis like paralysis
ปอดอักเสบ
กล้ามเนื้อหรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
การป้องกัน
แยกเด็กป่วยไม่ให้ร่วมกิจกรรมกับเด็กอื่น
ผู้ดูเเลควรล้างมือบ่อยๆ หลังจากสัมผัสผ้าอ้อม
ทำความสะอาดพื้น ห้องน้ำ สุขา เครื่องใช้ ของเล่น
เชื้ออยู่ในอุจจาระได้นาน 6-12 สัปดาห์
โรคไข้ซิก้า (Zika fever)
สาเหต
เชื้อไวรัสซิก้า (Zila Virus-ZIKV)
มียุงลายบ้านเป็นพาหะสำคัญ
การแพร่เชื้อผ่านทางเพศสัมพันธ์
ติดเชื้อจากเเม่สู่ลูกขณะตั้งครรภ์
การเเพร่เชื้อจากการบริจาคเลือด
อาการ
ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ผื่น ตาแดง ปวดข้อ กล้ามเนื้อ
การรักษา
ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
รับประทานยาพาราเซตามอล เมื่อมีไข้
ห้ามรับประทานยาแอสไพริน
ตั้งครรภ์ควรเข้ารับการฝากครรภ์ พบแพทย์ตามนัดอย่างส่ำ
เสมอ เพื่อเฝ้าระวัง
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
ผิวหนังมีการติดเชื้อเเบคทีเรีย
โรคแผลพุพอง (Impetigo)
Nonbullous streptococal impetigo เกิดจากเชื้อ staphylococus aureus
พบบ่อยที่ขา เเตกเเล้วมี crust สีเหลืองปนน ้าตาลคลุม
Bullous impetigo เกิดจากเชื้อ staphylococi Group II ตุ่มหนอง ใบหน้า ลำตัว แขน
ขา แตกแล้วลอกเป็นผิวหนังแดงๆ
Cellulitis
มีการบวมแดงและเจ็บปวด มักเกิดจากบาดแผล
เป็นเชื้อ Group A Beta hemolytic streptococus
Erysipelas พบบ่อยในเด็กทารกและเด็กเล็ก
เป็น superficial cellulitis มีการลุกลามเข้าระบบ lymphatic vessel invovement
เริ่มจุดแดงเล็ก ผื่นบวมแดง เงา ขอบเขตชัด เจ็บปวด เป็นบริเวณใบหน้าศรีษะ
การรักษา
ทำความสะอาดด้วยสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค วันละ 2-3 ครั้ง
wet dressing บริเวณที่มีหนอง
ให้ยาปฏิชีวนะครอบคลุมเชื้อ เช่น cloxacillin
crust คลุมหนา ใช้wet dressing
หลีกเลี่ยง skin trauma
ผิวหนังติดเชื้อไวรัส
หูด (warts)
เกิดจากเชื้อ Human papilloma virus (HPV)
การรักษา ใช้สารเคมี การรักษาด้วยความเย็น การผ่าตัด
การใช้แสงเลเซอร์ การรักษาด้วยระบบอิมมูน
หูดข้าวสุก (mollusum contagiosum)
สาเหตุ mollusum contagiosum virus
การรักษา การสะกิดออก ใช้สารละลายขุย ให้ยา cimethidine ให้ยาทา
ผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคกลาก (dermatpophytosis)
เกิดจากเชื้อรากลุ่ม dermatophyte
กลากที่ศรีษะ เกิดจากเชื้อ trichophyton และ microsporum
กลากที่ลำตัว เกิดจากเชื้อ เชื้อ trichophyton และ microsporum
โรคเกลื้อน (tinea vesicolor)
สาเหตุเชื้อ dimorphic yeast malassezia furfur
ผื่นราบขนาดเล็ก สีต่างๆ มีขุยบางๆ มักพบบริเวณคอ หน้าอก หลังและต้นแขน
การรักษา ทำความสะอาดผิวหนัง ยาทาต้านเชื้อรา รับประทานยา
Candidiasis
สาเหตุ เชื้อ candida albicans
ตำแหน่ง ช่องปาก ผิวหนัง
โรคผิวหนังจากเชื้อปรสิต
โรคหิด (scabies)
สาเหตุ sarcoptes scabiei var hominis
ลักษณะ ผื่นนูนแดงขนาดเล็ก หรือตุ่มน้ำใสขนาดเล็ก
การวินิจฉัยโรค ตรวจ KOH
การรักษา ซักเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน ย่เเก้คัน ยาทา ยาปฏิชีวนะ
เหาศีรษะ (head louse)
สาเหตุPediculus humanus var capitis
ลักษณะ คันศีรษะ เกาจนถลอก
การวินิจฉัยโรค ตรวจไข่เหา
การรักษา การตัดผมสั้น การทำความสะอาดเครื่องนอน
การสระผมด้วยแชมพูยา ใช้เม็ดน้อยหน่าตำหมักผม
การหวีเอาไข่เหาออก การให้ยาปฏิชีวนะ
โรคผิวหนังอักเสบ
ผิวหนังอักเสบ (Eczematous dermatitis)
Acute stage ผิวแดง บวมมีตุ่มน้ำ น้ำเหลืองไหล สะเก็ดน้ำเหลืองและคัน
Subacute stage ผื่นเริ่มแห้งมีสะเก็ดเล็กน้อยและคันมากขึ้น
Chronic stage ตุ่มแดง ขุย รอยเกา ผิวหนังแข็งหนาดำ และคันเพิ่มมากขึ้น
สาเหตุ มักพบในเด็กอายุ 2-3เดือน และ2-3 ปี
Atopic dermatitis พบบ่อยในเด็ก
Seborrheic dermatitis พบบ่อยในทารกเเละวัยรุ่น
Diaper dermatitis เกิดเวลานุ่งผ้าอ้อม
การรักษา
Acute stage ใช้ Wet dressing ด้วยน้ำเกลือ น้ำละลายด่างทับทิม
Subacute stage ทา corticosteroid cream
Chronic stage ใช้ keratolytic agent ร่วมกับ corticosteroid cream
ทาวาสลินหรือ zinc oxide cream
โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic dermatitis )
ระยะทารก มีปื้นเเดงที่เเก้ม ตุ่มเเข็ง ตุ่มน้ำ หนอง ตกสะเก็ด
ระยะเด็ก ผื่นที่ข้อพับ หลังเท้า ตุ่มน้ำเเตก ตกสะเก็ด ผิวหนังหนา
เป็นกลุ่มปื้น สีเข้ม
ระยะผู้ใหญ่ ผื่นเเห้งหน้า เกิดหลังเท้า ข้อพับเเขน ลำคอ
รอบเบ้าตา ใบหน้าบวม
การรักษา
ทำความสะอาดด้วยน้ำยา Burrow’s solution 1:40
ติดเชื้อให้รับประทานยาปฏิชีวนะนาน 7-10 วัน
ให้ครีมสเตียรอยด์ชนิดอ่อน
Seborrheic dermatitis
ผิวหนังอักเสบจากไขขมัน
เกิดจากต่อมไขมันขับไขมันออกมามากเกินไป มักพบบริเวณหนัง
ศีรษะ คิ้ว บริเวณรอยพับระหว่างจมูกกับแก้ม คาง หลังหู
การรักษา
ใช้สำลีชุบน้ำมันมะกอก หรือวาสลิน เช็ดออกเบาๆ
ถ้าหนังศีรษะและผิวหนังมีผื่นแดง ใช้ 1% hydrocortisone, 1% prednisolone cream
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำมันเยิ้ม ทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราได้
Diaper dermatitis ผื่นผ้าอ้อม
สาเหตุ เกิดจากความเปียกชื้น ผิวหนังสัมผัสกับอุจจาระ ปัสสาวะเป็นเวลานาน
อาการ ผื่นแดง ตุ่มแดง ตุ่มน ้าใส บวม เป็นขุย บริเวณหน้าท้องด้านล่าง
หัวเหน่า หน้าขา ก้น
การรักษา ทาด้วยครีมสเตียรอยด์ชนิดอ่อนหรือปานกลาง ทานาน 3-4 วัน
ทำแผลเปียกด้วย Burrow’s solution 1:40 แผลแห้งทาด้วย zinc oxide paste
RoseolaInfantum ส่าไข้หรือหัดกุหลาบ
เป็นไข้ออกผื่น
เกิดจากเชื้อ Human herpesvirus type 6 (HHV-6) เเละ
Human herpesvirus type 7 (HHV-7)
ระยะฟักตัวของโรค ใช้เวลาประมาณ 5-15 วัน
ระยะติดต่อ ตั้งแต่ 2 วันก่อนมีไข้ จนกระทั่งถึง 2 วันหลังไข้ลด
การติดต่อ เชื้ออยู่ในน้ำลาย เเละเสมหะของผู้ป่วย
อาการ
มีไข้สูง
ตัวร้อนตลอดเวลา
หงุดหงิด งอแง หรือเบื่ออาหารเล็กน้อย
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดอาการชักจากไข้นานประมาณ 2-3 นาที