Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy) - Coggle…
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy)
ความหมาย
เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมที่รุนแรง พบได้ร้อยละ
5-10 ของการตั้งครรภ์ส่งผลให้เกิดอัตราทุพพลภาพที่มากขึ้น ทั้งการเสียชีวิตของมารดาและทารก 1 ใน 3
ภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ พบในระยะครึ่งหลังการตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูงหลังคลอด หมายถึงมีความดันโลหิตสูงขึ้นในช่วง 2 - 6 เดือนหลัง
คลอด ความดันจะกลับสู่ปกติในปลายปีแรก ภาวะที่พบได้น้อยแต่ต้องเฝ้าระวัง
ภาวะความดันโลหิตสูง หมายถึงภาวะที่ช่วงหัวใจบีบตัวอย่างน้อย 140 mmHg หรือหัวใจคลายตัวอย่างน้อย 90 mmHg
ชนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
ภาวะความดันโลหิตสูงก่อนการตั้งครรภ์วินิจฉัยได้ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ และความดันโลหิตสูงนั้นยังคงอยู่นานกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด
คันเป็นพิษหรือภาวะครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก
ความดันโลหิตพบครั้งแรกตอนตั้งครรภ์หลังอายุ 20 สัปดาห์ ร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะอย่างน้อย 300 มิลลิกรัม และภาวะความดันโลหิตสูงคงอยู่ไม่เกิน 12 สัปดาห์หลังคลอด
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูง วินิจฉัยได้ครั้งแรกหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์โดยมีโปรตีนในปัสสาวะไม่น้อยกว่า 300 mg จะกลับสู่ปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
ครรภ์เป็นพิษระยะชัก
หมายถึง มีภาวะความดันโลหิตสูงเรื้อรังตั้งครรภ์แล้วพบว่าครรภ์เป็นพิษแทรกซ้อน และไม่เคยมีโปรตีนในปัสสาวะก่อนอายุอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะชัก (eclampsia)
หมายถึง ภาวะชักแบบ generalized convulsions มีลักษณะการชักเกร็งแบบชักกระตุก
ครรภ์เป็นพิษก่อนระยะชัก (Preeclampsia)
เกณฑ์การวินิจฉัย
วินิจฉัยเกี่ยวกับโปรตีนในปัสสาวะ ตรวจโดยการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมงเป็นหลัก แต่หากต้องการผลเร็วให้ใช้การตรวจ urine protein/creatinine
ยกเลิกเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะครรภ์เป็นพิษรุนแรง โดยใช้เกณฑ์ proteinuria มากกว่า 5 กรัมในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
การพิจารณาค่าความดันโลหิตสูงที่พบในโปรตีนปัสสาวะ เกร็ดเลือดต่ำ ภาวะน้ำท่วมปอด อาการทางสมองและทางตา
เกณฑ์การประเมินความรุนแรง
ครรภ์เป็นพิษที่มีลักษณะไม่รุนแรง
ครรภ์เป็นพิษที่มีลักษณะรุนแรง
เกณฑ์วินิจฉัยว่าเป็นภาวะ Severe feature
โปรตีนในปัสสาวะ
ปวดศีรษะ
ระดับความดันโลหิต
การทำงานของไตผิดปกติ และมีอาการชัก
ปัสสาวะออกน้อย
น้ำท่วมปอด
แบ่งตามการดำเนินของโรค
ระยะที่1 ระยะก่อนแสดงอาการ
เป็นระยะที่เกิดความผิดปกติที่รก
ระยะที่2 ระยะแสดงอาการ
รกที่ขาดออกซิเจนจะมีการหลั่งสารต่าง ๆ ออกมาในกระแสเลือด ทำให้เซลล์บุโพรงหลอดเลือดได้รับการบาดเจ็บและขาดเลือด
พยาธิสรีรภาพ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด plasma albumin ลดลง ส่งผลให้เลือดมีความหนืดมากขึ้น มีค่า Hematocrit สูงขึ้น
ระบบเลือดและการแข็งตัวของหลอดเลือด ภาวะเกร็ดเลือดต่พเฉียบพลัน และมีปัจจัยการอข็งเลือดของตัวอื่น ๆ ลดลงด้วย
ระบบไต การที่ปริมาณการไหลเวียนที่ไตลดลง ส่งผลให้ปริมาณปัสสาวะลดลง
ระบบตับ ผู้ป่วยอาจมีอาการปวดใต้ภายโครงขวา หรือจุกแน่นใต้ลิ้นปี่
ระบบประสาท เนื้อเยื่อบุหลอดเลือดถูกทำลาย อาจทำให้เกิดการแตกของเส้นเลือดฝอย มีเลือดออกในสมองเป็นจุดเล็ก ๆ
รกและมดลูก การหดรัดตัวของหลอดเลือด Spiral arteriole ทำห้หลอดเลือดตีบตัน ปริมาณเลือดที่ไหลผ่านระหว่างรกและมดลูกลดลง
ระบบการมองเห็น การหดรัดจัวของหลอดเลือดที่จอตา ทำให้เกิดอาการตาพร่ามัว
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ผ่านการคลอดบุตรมาอย่างน้อย 10 ปี
สตรีมีอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป
ประวัติครรภ์เป็นพิษในครรภ์ก่อน มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น
การตั้งครรภ์แฝด
สตรีไม่เคยคลอดบุตรมาก่อน
ประวัติพันธุกรรมครรภ์เป็นพิษในครอบครัว
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
ขาดวิตามินอี
ขาดแคลเซียม
ขาดวิตามินซี
อาการและอาการแสดง
ภาวะ preeclampsia
การมองเห็นผิดปกติ
ปวดใต้ชายโครงขวา
ปวดศีรษะส่วนหน้า
จุกแน่นใต้ลิ้นปี่
อาการแสดง
น้ำท่วมปอด
เลือดออกในสมอง
BP 160/110 mmHg.
ตาบอดจากพยาิสภาพของครรภ์เป็นพิษในสมอง
อาการ
การทำงานของตับผิดปกติ ระดับเอนไซม์ AST/ALT สูงกว่า 70 IU/L
เกร็ดเลือดต่ำ < 100,000 ต่อไมโครลิตร
ภาวะไตวาย serum creatinine > เท่ากับ 1.1 mg/dL
ระบบแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ภาวะ Eclampsia
ระยะเริ่มแรกของอาการชัก
บริเวณใบหน้าและมุมปากมีอาการกระตุก ริมฝีปากเบี้ยว
ระยะชักเกร็ง
มีอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย ลำตัวเหยียด กำมือแน่น
ระยะก่อนชัก
มีอาการหรืออาการแสดงบอกล่วงหน้า เช่น กระสับกระส่าย ตามองนิ่งอยู่กับที่
ระยะชักกระตุก
กล้ามเนื้อทั่วร่างกายมีการกระตุก มีการกระตุกของขากรรไกร น้ำลายฟูมปาก และอาจกัดลิ้นจนได้รับบาดเจ็บได้
ระยะหมดสติ
เกิดขึ้นภายหลังการชักกระตุก นอนนิ่งร้างกายไม่เคลื่อนไหวอยู่ในสภาพหมดแรง
ผลกระทบ
ต่อมารดา
เลือดแข็งตัวผิดปกติ
หัวใจขาดเลือด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
เกร็ดเลือดต่ำ
ไตวายเฉียบพลัน
หลอดเลือดอุดตัน
น้ำท่วมปอดหรือปอดบวม
ต่อทารกในครรภ์
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์
ทารกตายในครรภ์เฉียบพลัน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
แนวทางการรักษา
การรักษา Preeclampsia without severe features
ให้นอนพัก
ประเมินความดันโลหิตทุก 24 ชั่วโมง
ตรวจโปรตีนในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง ควรตรวจอย่างน้อย 3 วัน
การรักษา Preeclampsia with severe featurse
ประเมินอาการแสดงของ Mg toxicity เป็นระยะ
ประเมินความดันโลหิต และให้ยาลดความดันโลหิต
ให้ยา MgSO4 เพื่อป้องกันชัก
การรักษา eclampsia
หากชักในขณะได้ยา ให้เจาะเลือดตรวจหา Mg level ทันที
ไม่ควรใช้ยา diazepam เนื่องจากกดความรู้สึก
ป้องกันการชักซ้ำโดยให้ยา MgSO4
ยาป้องกันการชัก
Magnesium Sulfate (MgSO4)
ออกฤทธิ์ลดการกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้กล้ามเนื้อคลายตัว ยามีฤทธิ์ทำให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือด
ผลข้างเคียง
อาการร้อนวูบวาบทั้งตัว เซื่องซึมและง่วงนอน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง สับสน
ขับออกทางไต มีการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อทำให้ปัสสาวะลดลง
คลื่นไส้ อาเจียน
ยาลดความดันโลหิต
Hydralazine (Apresolin/Nepresol)
ออกฤทธิ์โดยตรงที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดคลายตัวมีผลทำให้ความดันโลหิตลดลง cardiac output มากขึ้น
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน
ใจสั่น หัวใจเต้นผิดปกติ
ปวดศีรษะ
ยา Nifedipine (Adalat)
ออกฤทธิ์ในการลดความดันโลหิตโดยป้องกันแคลเซียมเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจและหลอดเลือด
ผลข้างเคียง
ความดันโลหิตต่ำอย่างรวดเร็ว
เวียนศีรษะ ใจสั่น คลื่นไส้
เหงือกอักเสบ