Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ Part 1 - Coggle Diagram
บทที่ 2 การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ
Part 1
โรคหัด MEASLES
สาเหตุ
: เกิดจากเชื้อไวรัส (Paramyxovirus)
ระยะฟักตัว
: ประมาณ 10 วันหลังจากได้รับเชื้อจนกระทั่งมีไข้หรือประมาณ 14 วัน จนกระทั่งผื่นขึ้น
ระยะเวลาติดต่อ
: ประมาณ 8-12 วัน คือ 4วันก่อนผื่นขึ้นจนถึง 4วันหลังผื่นขึ้น ติดต่อทางอากาศและสัมผัสน้ำมูกน้ำลายหรือเสมหะของผู้ป่วย
การระบาดของโรค
: ตลอดทั้งปี วัยเด็กมักเป็นโรคหัดอายุ 1-7 ปี
อายุน้อยกว่า 6 เดือนมักไม่พบว่าเป็นโรคหัด
อาการและอาการแสดง
: ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอ น้ำมูกน้ำตาไหล เยื่อบุตาอักเสบ กลัวแสง หนังตาบวม ทอนซิลโตและแดงในวันที่ 2-3 ตรวจพบ Koplick’s spot ลักษณะเม็ดขาวเล็กๆขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบนเยื่อบุกระพุ้งแก้มที่แดงจัด หายไปหลังผื่นขึ้นประมาณ 2 วัน
การวินิจฉัย
: Koplick’s spot ตัวอย่างเสมหะ เยื่อเมือกที่จมูก การตรวจทางน้ำเหลือง การตรวจเลือด
โรคแทรกซ้อน
: ปอดอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ เยื่อบุตาอักเสบ ลำไส้อักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
การรักษา
: เป็นโรคที่หายได้เองไม่มีโรคแทรกซ้อนไม่มีความจำเป็นให้ยาต้านจุลชีพ
ให้พักผ่อน ยาลดไข้ และให้น้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ถ้าติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำให้ยาต้านจุลชีพที่เหมาะสม
โรคหัดเยอรมัน Rubella
สาเหตุ
: เชื้อ rubella เป็น RNA ไวรัสอยู่ในตระกูล Togaviridae และในกลุ่ม rubi-virus
เป็นไข้ออกผื่น ทำให้เกิดความพิการทาง หู ตาหัวใจ สมอง ติดต่อทาง Airborne เชื้อจะอยู่ในลำคอ from mother to fetus ทารกที่ติดเชื้อในครรภ์ เชื้อไวรัสอยู่ในลำคอและขับถ่ายออกมาทางปัสสาวะ ได้นานถึงหนึ่งปีระยะฟักตัว 14-21 วันเฉลี่ย 16-18 วัน
อาการ
: เจ็บคอ มีไข้สูง ปวดหัว ต่อมน้ำเหลืองโต น้ำมูกไหล เยื่อบุตาอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อน
: ข้ออักเสบ โรคหัวใจ
การรักษา
: ทำ MMR การตรวจ Swab และแยกผู้ป่วยครบ 7 วันหลังผื่นขึ้น ให้วัคซีนป้องกัน
‼️ Congenital rubella อันตรายกับแม่ที่ตั้งครรภ์‼️
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด
การแยกเด็กแบบ respiratory Isolation ตั้งแต่มีอาการ 5-7 วัน
การดูแลทั่วๆไป ผิวหนัง ตา หู ปากฟันและจมูก
ระยะไข้สุง ให้อาหารอ่อน หรืออาหารเหลว ดื่มน้ำมากๆ
สังเกตอาการแทรกซ้อนอื่นๆ ข้ออักเสบให้แอสไพริน กรณีเกร็ดเลือดต่ำ และเลือดออกไม่หยุด อาจต้องใช้ยาสเตียรอยด์ ให้เกร็ดเลือด หรืออิมมูโนกลอบูลิน
โรคสุกใส Chickenpox
สาเหตุ
: เกิดจากเชื้อไวรัส Varicella virus
เชื้อไวรัส จะเข้าไปอยู่ dorsal root ganglia จะขึ้นบริเวณหนังศีรษะ ใบหน้า คอ และเยื่อบุช่องปากก่อนแล้วจึงลามไปที่แขน และกระจายแบบ centripetal จะมีลักษณะ จุดสีขาวและจุดเเดงล้อมรอบ สุกใสจะไม่เป็นแผลเป็น นอกจากติดเชื้อ
อาการ
: มีไข้ พร้อมกับผื่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร ปวดท้องเล็กน้อย
ลักษณะผื่น
: เรื่มจากจุดเเดงราบ-ตุ่มนูน-ตุ่มน้ำใส-ตุ่มหนอง-แห้งตกสะเก็ด พบผื่นระยะต่างๆในเวลาเดียว
โรคแทรกซ้อน
: สมองอักเสบ Ryre's syndrom มีผลต่อสมองและตับ ให้สังเกต สับสน พฤติกรรมเปลี่ยนไป ซึม หมดสติ อีสุกอีใสมักพบในผู้ที่เป็นมะเร็ง
การรักษา
: ยาต้านไวรัส Acyclorir
การวินิจฉัย
: ขูดพื้นของตุ่มใสมา Smear
การป้องกัน
: ภายใน 24 ชม. ก่อนผื่นขึ้นจนตุ่มแห้งหมดแล้ว ควรแยกอยู่ในห้อง Isolation และควรหยุดเรียน
การพยาบาล
แยกผู้ป่วยจนกว่าแผลจะตกสะเก็ด ควรใช้ dermapon ฟอก หรือใช้คาราไมล์ทาหลังอาบน้ำ
ตัดเล็บให้สั้น ใส่ถุงมือในเด็กเล็ก
ให้อาหารธรรมดา
สังเกตภาวะเเทรกซ้อน
โรคคอตีบ Diphtheria
เป็นโรคที่ติดเชื้อระบบหายใจ เป็นแบคทีเรีย เกิดจากการอักเสบ เป็นอันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจ และเส้นประสาทส่วนปลาย พบได้ในคน จมูกหรือคอ ไอ จามรดกัน พูดคุยใกล้ชิดกัน ใช้ภาชนะร่วมกัน มักพบในชุมชนแออัด พบในเด็ก1-6 ปี
สาเหตุ
: เชื้อแบคทีเรีย Corynebactium diphtheriae (C.diphtheriae)
อาการ
: คล้ายหวัด ไอเสียงก้อง เจ็บคอรุนแรง เบื่ออาหาร ต่อมน้ำเหลืองโต คอบวมBullneck ใบหน้ามีสีดำคล้ำจากเลือดคลั่ง ไข้สูง ซึม ชีพจรเบาเร็ว มือเท้าเย็น อาจเสียชีวิต คอพบแผ่นเยื่อสีขาวปนเทา
โรคแทรกซ้อน
: การอุดตันทางเดินหายใจส่วนบน กล้มเนื้ออักเสบ กล้ามเนื้อตาเป็นอัมพาต ตาเหล่ หายใจลำบาก ความรุนแรงขึ้นอยู่กับ toxin ตำแหน่งที่เกาะ หรือการได้รับ DAT ช้า
การวินิจฉัย
: throat swab
การรักษา
: ให้ DAT diphtheria antitoxin ให้ยาปฏิชีวนะ ถ้าทางเดินหายใจตีบ ต้องเจาะคอ พักผ่อนให้เพียงพอ ตรวจคลื่นหัวใจ EKG
การป้องกัน
: แยกผู้ป่วย 3 สัปดาห์ ติดตามอาการ 7วัน ผู้ป่วยใกล้ชิดให้ DAT ในเด็กทั่วไปให้วัคซีน 4ครั้ง เมื่ออายุ 2 4 6 และ 18 เดือน
โรคไอกรน Whooping cough
เป็นโรคติด เชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบนเกิดจากแบคทีเรียไอติดต่อกัน 5 - 10 ครั้งเสียงดังวู้ป (Whoop) เป็นเรื้อรัง พบได้ทุกเพศ ในช่วงฤดูฝน พบบ่อยในเด็ก 2-6 ปี มีปัญหาในปอดโดยตรง ลอยอยู่ในอากาศ หรือสัมผัส ปนเปื้อนน้ำมูกน้ำลาย ไอจนตัวงอ ไอบ่อยอาจทำให้เด็กต่ำกว่า 2 ปีเสียชีวิตได้
อาการ
: คล้ายหวัด ไอเสียงวู้ป ไอจนตัวงอ
สาเหตุ
: เกิดจากเชื้อไอกรน ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียBordetella pertussis
การวินิจฉัย
: ตรวจ CBC
การรักษา
: ให้ยาปฏิชีวนะ กินน้ำอุ่น อยู่ในที่มีสภาพอากาศปลอดโปร่ง ควนให้เด็กรับประทานอาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง ให้ฉีดวัคซีนเมื่ออายุ 2 4 6 และ18 เดือน หากได้ครบแล้ว เมื่ออายุ 11-12 ปีฉีดอีกครั้ง
ภาวะแทรกซ้อน
: ทำให้ปอดบวม ปอดเเฟบ และอาจพบหลอดลมอักเสบ
ระยะไอกรน
:
ระยะเป็นหวัด 0-2 week
ระยะไอรุนแรง 2-8 Week
ระยะฟื้นตัว 8-12 Week
โรคคางทูม Mumps
เกิดจากการอักเสบของต่อมน้ำลาย
สาเหตุ
: Paramyxovirus
อาการ
: มีไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ขากรรไกรบวมแดง
ภาวะแทรกซ้อน
: เยื่อหุ้มสมองอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ ไตอักเสบ ลูกอัณฑะอักเสบ หากเป็นมากๆอาจเป็นหมันได้
การรักษา
: ให้เช็ดตัวลดไข้ ดื่มน้ำมากๆ บ้วนปากด้วยน้ำเกลือบ่อยๆ
การป้องกัน
: ให้วัคซีนป้องกันคางทูม
โรคบาดทะยัก Tetanus
เป็นโรคติดเชื้อ โดยเฉพาะในทารกแรกเกิดจะมีอันตรายสูง เรียกว่า "บาดทะยักในทารกแรกเกิด (Tetanus neonatorum)
สาเหตุ
: เกิดจากการติดเชื้อบาดทะยัก Clostridium tetani เป็นเชื้อเเกรมลบ
การติดต่อ
: ในทารกแรกเกิดติดเชื้อทางสะดือ
พยาธิสภาพ
: เทตะโนสปามิน(Tatanospasmin) มีผลต่อระบบประสาท เกิดการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อ ต้องอาศัยเวลาให้เสื่อมไปเอง 2-6 สัปดาห์
อาการ
: มักรุนแรง อันตรายสูง ประมาณ 2-14 วัน น้อยกว่า 1 สัปดาห์อาจตายได้ คนที่เป็น Tetanus อาจไม่รอด
บาดทะยักในทารกแรกเกิด
มักพบจากการตัดสายสะดือด้วยเครื่องมือที่ไม่สะอาด
เด็กมักจะมีอาการ ดูดนมลำบาก ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ได้ ทารกร้องกวนบ่อย
การักษา
: ให้ TAT และ TIG ให้ยาปฏิชีวนะ ควบคุมอาการชัก และให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
การป้องกัน
: ล้างแผลให้สะอาด ใช้เครื่องมือปราศจากเชื้อ ให้วัคซีนหญิงตั้งครรภ์ห่างกัน 1 เดือน
การพยาบาล
ประเมินภาวะเกร็ง
เช็ดตัวลดไข้
ให้ยากันชัก
ประเมินภาวะขาดสารน้ำและสารอาหาร
ทำความสะอาดแผล โดยฟอกด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
วัณโรค Tuberculosis
เป็นโรคติดต่อเรื้อรัง ทำให้มีการอักเสบที่ปอด
สาเหตุ
: เกิดจากเชื้อเเบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
อาการ
: 1-6 เดือน ต่อมน้ำเหลืองโต ไปปอด ไปอวัยวะอื่นๆ ผู้ที่สัมผัส TB contact แล้วผลเป็นลบ ให้ isoniazid 3 เดือนหากปลทดสอบเป็นลบให้ยุดยา แต่ถ้าผลเป็นลบ ยังคงมีภูมิคุ้มกันบกพร่องให้ยาครบ 9 เดือน มีไข้ อ่นเพลีย น้ำหนักลด เบื่ออาหาร
การวินิจฉัย
: ใช้ปากกามาวงรอบแผล หารมีรอยนูนเพิ่ม ให้ผลเป็นบวก ตรวจ CT MRI
การแปลผล
0-4 mm ผลเป็นลบ
5-9 mm อาจติด ได้ BCGมา
มากกว่า 10 mm ผลเป็นบวก ได้BCGมา เป็นโรคมา
การรักษา
: Combine drug อย่างน้อย 3 อย่าง
ตรงเวลา
กินยา 3 อย่าง (pyrazinamide, streptomycin, rifampin, isoniacid)
กินต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน