Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum)🤢🤰🏼 - Coggle…
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์
(Hyperemesis gravidarum)🤢🤰🏼
สาเหตุ💁🏻♀️
ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง แต่อาจเกิดจากปัจจัยส่งเสริม
1 ปัจจัยด้านมารดา💁🏼♂️
1.1 ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนสูง หรือ มีระดับ human chorionic gonadotropin เพิ่มมากกว่าปกติ
1.2 มีประวัติการแพ้ท้องอย่างรุนแรงในครรภ์ก่อนหรือ
เป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรก
1.3 มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่เหมาะสม
ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์
1.4 มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
1.5 กระเพาะอาหารมีการเคลื่อนไหวลดลง จากการเพิ่มของระดับฮอร์โมน progesterone ขณะตั้งครรภ์ทำให้หลั่ง hydroelectric ลดลง
สภาพจิตใจ ความเครียด ความวิตกกังวลส่ง ส่งผลให้เกิดการกระตุ้น cerebral cortex และ lambic system ส่งกระแสประสาทความรู้สึกไปยังศูนย์ควบคุมการอาเจียน
2 ปัจจัยด้านทารก💁🏼♂️
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม
triploidy
trisomy 21
Hydrops fetalis
อาการและอาการแสดง💁🏻♀️
2 อาการอไม่รุนแรงมาก สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
น้ำหนักจะลดลงเล็กน้อย ไม่มีอาการ dehydration 💁🏼♂️
1 อาการรุนแรง เป็นระยะเวลานานตลอดทั้ง อาการรุนแรงอาจเพิ่มมากขึ้น จนไม่สามารถยับยั้งได้ 💁🏼♂️
3.อาการรุนแรงมากขึ้น คือมีอาการอาเจียน5-10 ครั้งต่อวันหรือมากกว่า เป็นเวลาหลายวัน💁🏼♂️
3.3 เกิดความไม่สมดุลของร่างกาย เกิดภาวะ acidosis และ alkaline และความไม่สมดุลของเกลือแร่
ปากคอแห้ง
กระหายน้ำ
กล้ามเนื้อกระตุกหรืออ่อนแรง
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
3.4 ลมหายใจมีกลิ่น acetone ตรวจพบ ketonurie
3.2 มีอาการแสดงของภาวะ dehydration
3.5 มีอาการแสดงของกลุ่มอาการ Wenicke’s encephalopathy จากการจากวิตามินบี 1
ophthalmoplegia
gait ataxia
Confusion
3.1 malnutrition and BM loss มาก
3.6 มีอาการแสดงทางด้านจิตใจ
Stress
anxiety
depress
หากไม่ได้รับการรักษาจะทำให้ขาดสารอาหารอย่างรุนแรงตามองเห็นภาพไม่ชัด อาจทำให้เสียชีวิตได้
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์💁🏻♀️
ผลกระทบต่อมารดา💁🏼♂️
Dehydration: Body temp สูงขึ้น BP ต่ำลง PR เบาเร็ว
มีผลกระทบต่อการทำงานของไต ปัสสาวะออกน้อย มีไข้
ผิวหนังแห้ง มีอาการอ่อนเพลีย
เกิดภาวะความเป็นกรดในร่างกาย เกิดภาวะกรดในกระแสเลือด
มีผลกระทบต่อระบบสมองส่วนกลาง มีอาการกระสับกระส่าย ไม่รู้สึกตัว หมดสติ
อาการรุนแรงมากร่างกายเสียสมดุลย์ของอีเล็กโทรลัยท์ เกิดภาวะ hypokalemia,alkalosisกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Malnutrition
ผลกระทบต่อตับ ค่า SGOT เพิ่มขึ้น มีอาการของการขาดวิตามิน
ผลกระทบทารกในครรภ์💁🏼♂️
1 สตรีตั้งครรภ์ BM loss มาก
intrauterine growth restriction: IUGR
Low birth weight
2 สตรีตั้งครรภ์อาการรุนแรงมาก
เกิดภาวะเป็นกรดในร่างกาย
ทารกมีอาการทางสมอง
3 อาจทำให้แท้ง คลอดก่อนกำหนด ทารกอาจตายคลอดทารกพิการจากการขาดสารอาหาร
การวินิจฉัย💁🏻♀️
2 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ💁🏼♂️
การตรวจเลือดพบ
BUN สูง
Hct สูง
โซเดียมต่ำ
โปแตสเซียมต่ำ
คลอไรด์ต่ำ
SGOTสูง LFT สูง
โปรตีนในเลือดต่ำ
การตรวจปัสสาวะพบ
ความถ่วงจำเพาะสูง
ไข่ขาวในปัสสาวะเพิ่มขึ้น
คีโตนในปัสสาวะ
มีอาการรุนแรงมากขึ้นอาจพบน้ำดีในปัสสาวะ
3 การตรวจพิเศษ💁🏼♂️
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การเจาะตรวจน้ำคร่ำ
1 การซักประวัติ ตรวจร่างกาย ประเมินจากอาการและอาการแสดงของการอาเจียนรุนแรง การขาดสารน้ำขาดสารอาหาร น้ำหนักตัว และสภาพจิตใจ💁🏼♂️
แนวทางการรักษา💁🏻♀️
1 วินิจฉัยแยกโรคภาวะอาเจียนอย่างรุนแรงจากอาการ
ของโรคอื่นๆ💁🏼♂️
2 หากอาการไม่รุนแรงสามารถรับประทานอาหารได้ แนะนำให้รับประทานอาหารที่ช่วยทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไปกับการอาเจียน💁🏼♂️
5 อาการแพ้ท้องรุนแรงดีขึ้นให้คำแนะนำ💁🏼♂️
5.1 ให้รับประทานอาหารอ่อนครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ทุก 2-3 ชั่วโมง ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
5.2 รับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของขิง สามารถช่วยลดอาการขึ้นไส้ได้
6 หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อม และสิ่งกระตุ้นที่ทำให้คลื่น
ไส้อาเจียน💁🏼♂️
3 หากอาการรุนแรงมาก NPO และรีบแก้ไขภาวะขาดน้ำ ความไม่สมดุลย์ของเกลือแร่ และความเป็นกรด-ด่างของเลือด💁🏼♂️
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 5% D/NSS 1,000 ml.
กรณีมีภาวะขาดสารอาหารรุนแรง ควรได้รับ parenteral nutrition โดยต้องได้แคลอรี่มากกว่า 2,000 แคลอรี่ต่อวัน จึงต้องมีกดอะมิโน ไขมัน วิตามินและเกลือแร่โดยอาจให้ทางcentral venous access หรือ subclavian vein
4 การรักษาด้วยยา💁🏼♂️
4.1 ยาแก้คืนไส้อาเจียน
4.2 วิตามิน ได้แก่ วิตามินบี 6
ยาคลายกังวล และยานอนหลับ
7 กรณีที่รักษาด้วยวิธีต่างๆแล้วอาการไม่ดีขึ้น จะต้องทำการวินิจฉัยเพื่อค้นหาสาเหตุของโรคที่แท้จริง เพื่อทำการรักษาอย่างไร💁🏼♂️
การพยาบาล💁🏻♀️
1 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก💁🏼♂️
1.5 แนะนำให้รับประทานอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตเชิงเดียว
1.6 แนะนำให้แนะนำให้รับประทานผลไม้
1.4 รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
1.8 สอนวิธีการประเมินโภชนาการ การคำนวณพลังงานที่ได้รับจากอาหารที่บริโภคและการช่างน้ำหนัก
1.3 แนะนำให้จิบเครื่องดื่มอุ่นๆ
1.9 ให้ให้คำปรึกษาในการปรับแบบแผนการรับประทานอาหารเพื่อให้ได้พลังงานและสารอาหารที่เพียงพอ
1.2 วิธีแนะนำวิธีการป้องกันการคลื่นไส้อาเจียน
1.2.5 หลังรับประทานอาหารไม่ควรนอนทันทีเพื่อป้องกันการไหลท้นกับของน้ำย่อย
1.2.4 หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดและอาหารที่มีกลิ่นแรง
1.2.3 รับประทานอาหารเหลว อาหารน้ำ หรือดื่มน้ำระหว่างมื้ออาหาร แทนการดื่มพร้อมรับประทานอาหาร
1.2.6 ดูแลความสะอาดของปากและฟัน บ้วนปากบ่อยๆ ไม่ควรให้ปากแห้งแตกและสกปรก
1.2.2 งดอาหารไขมันเพราะ ย่อยยาก ควรรับประทานอาหารแข็ง ย่อยง่าย
1.2.7 แนะนำการพักผ่อนอย่างน้อยวันละ 6-8 ชั่วโมง
1.2.1 รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆแต่บ่อยครั้งไม่ควรให้กระเพาะอาหารว่าง
1.10 ช่วยประคับประคองด้านจิตใจโดยเปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์ได้พูดถึงปัญหาให้การปรึกษาเพื่อแก้ไข
1.1 อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์เข้าใจถึงสาเหตุของการเกิดภาวะอาเจียนรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
1.7 แนะนำวิธีการรับประทานยาแก้อาเจียนตามแผนการรักษา
1.11 แนะนำให้มาพบแพทย์เมื่อมีอาการคลื่นไส้อาเจียนมากขึ้น
2 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล💁🏼♂️
2.7 จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เงียบสงบ เหมาะแก่การพักผ่อน
2.8 เมื่ออาการดีขึ้นให้เริ่มรับประทานอาหารมื้อละน้อยแต่บ่อยครั้งโดยเริ่มจากอาหารแข็งย่อยง่ายมีคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนสูง
2.8.1 รับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้งไม่ควรให้กระเพาะอาหารว่าง
2.8.2 งดอาหารไขมัน เพราะย่อยยากทำ ให้คลื่นไส้อาเจียนควรรับประทานอาหารแข็ง
2.6 บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออกจากร่างกายโดยเฉพาะ urine output ไม่น้อยกว่า 1,000 ต่อวัน
2.9 ในรายที่มีอาการรุนแรงมากจำเป็นต้องให้อาหารทางสายยางหรือให้สารอาหารทดแทนทางหลอดเลือดดำ โดนเป็นอาการเหลวที่มีแคลอรี่และวิตามินสูง
2.5 ดูแลให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียนตามแผนการรักษา
2.10 ติดตามชั่งน้ำหนักเพื่อประเมินว่าได้รับสารน้ำและสารอาหารเพียงพอหรือไม่
2.4 ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำเพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำ
2.11 ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและรายงานแพทย์ให้ทราบทันที
2.3 ดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันขณะที่ NPO หรือหลังจากอาเจียน
2.12 ดูแลด้านจิตใจโดยการอยู่เป็นเพื่อนให้กำลังใจเปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัยรับฟังด้วยความสนใจเอาใจใส่แนะนำให้ทำจิตใจให้สบายและหลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่อให้เกิดความเครียด
2.2 หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
2.13 แนะนำให้คู่สมรสหรือบุคคลในครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด
2.1 ดูแลให้งดน้ำและอาหารทางปาก อย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง
2.14 ปรึกษาและส่งต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญด้านการให้คำปรึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาด้านจิตใจที่อาจส่งผลให้เกิดอาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง
3 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์เมื่อกลับไปอยู่บ้าน💁🏼♂️
3.4 แนะนำการออกกำลังกายหรือการบริหารเบาๆอย่างสม่ำเสมอเพื่อช่วยให้ผ่อนคลายสามารถลดความเครียดความวิตกกังวลและช่วยให้นอนหลับดีขึ้น
3.5 แนะนำให้หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นให้เกิดความเครียดทำจิตใจให้สบายและใช้เทคนิคการผ่อนคลาย
3.3 แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอเพื่อให้ร่างกายผ่อนคลายอย่างน้อยแต่ชั่วโมงในเวลากลางคืนและกลางวันอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
3.6 อธิบายให้คู่สมรสและครอบครัวเข้าใจถึงภาวะที่เกิดขึ้นและควรให้การช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด
3.2 แนะนำให้ดื่มน้ำอุ่นทันทีที่ตื่นนอนประมาณครึ่งแก้วแล้วนอนต่ออีกประมาณ 15 นาทีก่อนที่จะลุกขึ้นปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเพื่อไม่ให้ท้องว่าง
3.7 แนะนำให้เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอและสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนวันนัด
3.1 แนะนำการรับประทานอาหารโดยปรับเปลี่ยนแบบแผนการรับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้งเป็นอาหารที่ย่อยง่ายหรือมีโปรตีนสูง