โรคไตอักเสบเฉียบพลัน
Acute Glomerulonephritis : AGN
ไต

ความหมาย

สาเหตุ

อาการและอาการแสดง

การวินิจฉัย

เป็นกลุ่มอาการทางโรคไตที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันเป็นผลมาจากการอักเสบภายใน glomerulus ทำให้ GFR ลดลง

ภายหลังการติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต มักก่อโรคทางเดินหายใจ

กลุ่มโรคหลอดเลือดอักเสบ & โรคทางภูมิคุ้มกัน

พยาธิสภาพ

เกิดจากการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน Antigen

186238778_951901785571962_9102367139636404504_n

อาการปรากฏหลังการติดเชื้อ Strep ที่คอ 7-14 วัน ที่ผิวหนัง 14-21 วัน/6 สัปดาห์

ภาวะแทรกซ้อน

▪ ภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonary edema)

▪ ภาวะหัวใจวาย (congestive heart failure)

▪ ภาวะไตวาย (renal failure) ทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง

▪ ภาวะทางสมองที่เกิดจากความดันโลหิตสูง
(Hypertensive encephalopathy)

ซักประวัติ

ติดเชื้อทางเดินหายใจ / ผิวหนัง

ตรวจร่างกาย

อาการบวมบริเวณหนังตา บวมทั่วตัว ท้องบวมโตีผิวซีด อ่อนเพลีย ซึม ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

  • BUN, Cr สูงกว่าปกติ
  • พบเชื้อ Group A hemolytic Streptococcus
  • การตรวจเลือด
  • ASO titer มีค่าเกิน 250 todd unit
  • ระดับอัลบูมิน จะต่ำลงเล็กน้อย
  • Serum electrolyte ปกติ/ สูงในรายที่มีอาการรุนแรง
  • CBC : WBC 12,000 – 15,000 /มิลลิลิตร

การตรวจอื่น ๆ

  • เพาะเชื้อจาก Pharynx พบ Streptococcus
  • Renal biopsy
  • เอกซเรย์เพื่อดูภาวะแทรกซ้อน

การรักษา

  1. การรักษาประคับประคองตามอาการ
  1. การรักษาจำเพาะ

จำกัดกิจกรรม การพักผ่อน ขึ้นอยู่กับสภาพอาการ

จำกัดน้ำ เกลือ และโปแตสเซียม

การจำกัดสารอาหารโปรตีน

การรักษาด้วยยา ให้รับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด

การรักษาอื่นๆ เช่น ให้ออกซิเจน ให้เลือด

วัดความดันโลหิต และตรวจปัสสาวะเป็นระยะๆ

แก้ไข ป้องกันการอักเสบของ โกลเมอรูลัส

ใช้ยากดภูมิต้านทาน

การพยาบาล

▪ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะไตอักเสบ

▪จำกัดกิจกรรม/ การเล่น ที่ต้องใช้กำลังมาก

▪ดูแลให้ได้รับยาลด BP

▪บันทึกสัญญาณชีพเป็นระยะ ๆ

▪ป้องกัน/ควบคุมอาการบวม เช่น จำกัดน้ำ เกลือ และให้ยาขับปัสสาวะ

▪record Intake/ Output

▪จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบ สงบ

▪ติดตามผลตรวจ BUN, Cr

▪ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ เช่นให้ได้รับยา ATB ตามคำสั่งแพทย์ ดูแลความสะอาดปาก ฟัน หูและผิวหนัง

การสร้าง Antibody เกิดปฏิกิริยา antigen-antibody
complex เกาะที่ผนังหลอดเลือดฝอยในไต

เกิดการกระตุ้น Complement สร้าง C3a, C5a และ C3b

ชักนำ WBC มาที่จุดเกิดเหตุ

neutrophil monocyte และ macrophage แทรกตัวอยู่ในโกลเมรูลัสและหลั่งสารจำพวก Growth factors, cytokines, prostaglandins

ทำให้เกิดการอักเสบของglomerulus

ทำให้เซลล์เยื่อบุและหลอดเลือดฝอยในโกลเมอรูลัสถูกทำลาย

ทำให้ความสามารถในการผ่านของสารในเซลล์ พื้นที่การกรองและอัตราการกรองลดลง

มีเลือดและโปรตีนรั่วออกมากับปัสสาวะ

ประสิทธิภาพการทำงานของไตลดลง

-ทำให้ปัสสาวะน้อยลง
-ของเสียคั่งเพิ่มมากขึ้น
-Na ถูกกรองลดลง
-น้ำนอกเซลล์มากขึ้น

มีการคั่งของน้ำ เกลือ และของเสียในร่างกาย

บวม

-มีอาการบวมบริเวณหนังตาหลังตื่นนอนตอนเช้าและบวมทั่วตัว กดไม่บุ๋มน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นเร็ว

-ความดันโลหิตสูง

-ปัสสาวะมีเลือดปนสีน้ าล้างเนื้อ หรือคล้ายสีโค๊ก

-ปัสสาวะน้อย มีค่าโปรตีนในปัสสาวะ1+ถึง2+

-ซีด อ่อนล้า

-ซึม ปวดศีรษะ ชัก

ไต

ไต1