Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ( Hypertensive disorders of pregnancy ) - Coggle…
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
( Hypertensive disorders of pregnancy )
ระดับความดันโลหิต
ตอนตั้งครรภ์จะมีความดันโลหิตต่ำ
กว่าตอนไม่ตั้งครรภ์
จะต่ำสุดในไตรมาสที่ 2
เพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 3
จนอยู่ในระดับเดียวกับตอนไม่ตั้งครรภ์
ความหมาย
Hypertension
ภาวะที่ค่าความดันโลหิตช่วงหัวใจบีบตัวอย่างน้อย 140 mmHg. ค่าความดันโลหิตช่วงหัวใจคลายตัวอย่างน้อย 90 mmHg.
วัด 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 4 ชม.
Postpartum Hypertension
สตรีมีความดันโลหิตปกติขณะตั้งครรภ์
แต่มีความดันโลหิตสูงขึ้นในช่วง 2 สัปดาห์
หลังคลอดถึง 6 เดือนหลังคลอด
แต่ความดันโลหิตกลับเข้าปกติในปลายปีแรก
Pregnancy Induced Hypertension
ภาวะความดันโลหิตสูงที่มี
สาเหตุมาจากการตั้งครรภ์
ชนิดของภาวะความดันโลหิตขณะตั้งครรภ์
Gestational hypertension
วินิจฉัยได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 20 สัปดาห์
และกลับสู่ระดับปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
Chronic hypertension
วินิจฉัยได้ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
และความดันโลหิตยังอยู่นานกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด
Preeclampsia
Eclampsia
คือ ภาวะครรภ์เป็นพิษที่มีภาวะชักร่วมด้วย
หาสาเหตุชักไม่ได้
ไม่ได้เกิดจากลมบ้าหมูหรือโรคทางสมอง
พบครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
แต่อยู่ไม่ถึง 12 สัปดาห์
Preeclampsia superimposed
on chronic hypertension
Preeclampsia
เกณฑ์การวินิจฉัย
วินิจฉัยเกี่ยวกับความดันโลหิตสูง
พิจารณาค่าความดันโลหิตที่สูง
การพบโปรตีนในปัสสาวะ
เกล็ดเลือดต่ำ
การทำงานของไตผิดปกติ
อาการทางสมอง
อาการทางตา
ภาวะน้ำท่วมปอด
วินิจฉัยเกี่ยวกับโปรตีนในปัสสาวะ
เก็บปัสสาวะ 24 ชม.เป็นหลัก
กรณีต้องการผลเร็ว
ตรวจ Urine protein/ Creatinine ration แทน
ยกเลิกเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะครรภ์เป็นพิษ
ระดับรุนแรง
ใช้เกณฑ์ Proteinuria มากกว่า 5g.
ในปัสสาวะ 24 ชม.
เกณฑ์การประเมินความรุนแรง
ครรภ์เป็นพิษที่มีลักษณะไม่รุนแรง
ไม่มีโปรตีนในปัสสาวะหรือผลเป็นบวก
Diastolic BPน้อยกว่า110 mmHg.
Systolic BPน้อยกว่า 160 mmHg.
การทำงานของตับผิดปกติสูงเล็กน้อย
ครรภ์เป็นพิษที่มีลักษณะรุนแรง
Diastolic BPมากกว่าหรือเท่ากับ110 mmHg.
Systolic BPมากกว่าหรือเท่ากับ160 mmHg.
ไม่มีโปรตีนในปัสสาวะหรือผลเป็นบวก
มีอาการปวดหัว
มีอาการทางสายตา
มีอาการปวดใต้ลิ้นปี่และชายโครงขวา
ปัสสาวะออกน้อย
มีอาการชัก
มีเกล็ดเลือดต่ำ
การทำงานของไตผิดปกติ
การทำงานของตับผิดปกติสูงมาก
มีน้ำท่วมปอด
ทารกเจริญเติบโตช้า
Eclampsia
ภาวะชักแบบ Generalized convulsions หรือ Grandmal seizures
เป็นการชักเกร็งแบบชักกระตุก
อาจเกิดขึ้นได้ทั้งในผู้ที่มีอาการไม่รุนแรง
จนถึงอาการรุนแรงมาก
อาการชักยังไม่แน่ชัด
สาเหตุและพยาธิกำเนิด
ระยะ 1 ระยะก่อนแสดงอาการ
เป็นระยะที่เกิดความผิดปกติที่รก
มักเกิดขึ้นตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์
เกิดจากความผิดปกติของการฝังตัวของรก
ระยะ 2 ระยะแสดงอาการ
รถขาดออกซิเจนจะมีการหลั่งสารต่างๆ
ออกมาในกระแสเลือด
เกิดความผิดปกติของเนื้อเยื่อบุ
โพรงหลอดเลือด
อาการแสดงทางคลินิก
ความดันโลหิตสูง
ภาวะมีโปรตีนในปัสสาวะ
อาการตามระบบต่างๆของร่างกาย
พยาธิสรีรภาพของภาวะความดันโลหิตสูง
ขณะตั้งครรภ์
ระบบไต
ปริมาณการไหลเวียนที่ไตลดลง
มีการทำลายของชั้นเยื่อบุหลอดเลือดในไต
เกิด Glomerular capillary endotheliosis
ทำให้ Glomerular infiltration rate ลดลง
ทำให้มีปัสสาวะลดลง และ
ระดับ Serum uric acid, Creatinine เพิ่มขึ้น
ระบบหัวใจและปอด
มี Plasma albuminลดลง
เนื่องจาก Proteinuria และ Capillaries รั่ว
ทำให้ Colloid osmotic pressure ลดลง
เสี่ยงต่อการเกิดน้ำท่วมปอดและสารน้ำในระบบไหลเวียนโลหิตจะรั่วออกไปคั่งตามเนื้อเยื่อต่างๆ
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด
เกิดภาวะเกล็ดเลือดต่ำเฉียบพลัน
มีปัจจัยการแข็งตัวของเลือดชนิดอื่นๆลดลงด้วย
ระบบตับ
เกิด Generalized vasoconstriction
ทำให้เกิด Hepatic ischemia
ส่งผลให้
ระดับเอนไซม์ Aspartate aminotransferase สูงขึ้น
ระดับเอนไซม์ SGOT สูงขึ้น
ระดับเอนไซม์ ALT สูงขึ้น
ระดับเอนไซม์ SEPT สูงขึ้น
ระบบประสาท
เกิดที่เยื่อบุหลอดเลือดถูกทำลาย
ทำให้เกิดการแตกของหลอดเลือดฝอย
มีเลือดออกในสมองเป็นจุดเลือดเล็ก
หรือเป็นก้อนใหญ่
เนื่องจากหลอดเลือดหดเกร็ง
ระบบการมองเห็น
เกิดการหดรัดตัวของหลอดเลือดที่จอตา
ทำให้เกิด Retinal edema
เกิดอาการตาพร่ามัว
เกิดการมองเห็นผิดปกติ
เกิดการหลุดของจกตา
รถและมดลูก
เกิดการหดรัดตัวของหลอดเลือด
Spiral arterioleใน Decidual
มี Acute atherosis
ทำให้หลอดเลือดตีบต้น
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ที่ส่งผลต่อภาวะครรภ์เป็นพิษ
Nulliparity
ประวัติครรภ์เป็นพิษในครรภ์ก่อน
มีความเสี่ยงเพิ่ม 7 เท่า
ผ่านการคลอดบุตรคนก่อนมา 10 ปี
มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น
มีอายุ 35 ปีขึ้นไป
ดัชนีมวลกาย 30 kg/m2 ขึ้นไป
ตั้งครรภ์แฝด
มีประวัติพันธุกรรมครรภ์เป็นพิษในครอบครัว
มีประวัติความเจ็บป่วยทางอายุกรรม
ความค้นโลหิตสูงเรื้อรัง
โรคเบาหวาน
โรคไตเรื้อรัง
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
เช่น
ขาดวิตามินซี
ขาดวิตามินอี
ขาดแคลเซียม
ความผิดปกติทางสูติกรรม
เช่น
กลุ่มอาการตุงน้ำรังไข่หลายใบ
การทำเด็กหลอดแก้ว
ภาวะที่รกทำงานมากกว่าปกติ
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
DIC
หัวใจขาดเลือด
หัวใจล้มเหลว
ไตวาขเฉียบพลัน
น้ำท่วมปอด
เลือดออกในสมอง
เกล็ดเลือดต่ำ
การหลุดของเรตินา
หลอดเลือดอุดตัน
ต่อทารก
โตช้าในครรภ์
ขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรด
คลอดก่อนกำหนด
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์
ทารกตายในครรภ์แบบเฉียบพลัน
การประเมินและวินิจฉัย
ซักประวัติ
ค้นหาปัจจัยเสี่ยง
ประวัติอาการและอาการแสดง
ตรวจร่างกาย
ประเมินความดันโลหิต
ประเมินระดับรีเฟล็กซ์
ประเมินอาการบวม
ประเมินอาการบวมกดบุ๋ม
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
Platelet count
liver function test
Renal functiontest
Cogulation profile
ตรวจพิเศษ
Angiotensin sensitivity test
เป็นการฉีดสาร Angiotensin II เข้าทาง
หลอดเลือดดำและวัดระดับคามดับโลหิต
Roll over test
ทำเมืออายุครรภ์อยู่ระหว่าง28 -32 สัปดาห์
วัดความดันโลหิตขณะอยู่ใน
ท่านอนตะแคงซ้าย 5 นาที
จากนั้นนอนหงาย 1 นาที
Isometric exercise
ให้สตรีตั้งครรภ์เกร็งกล้ามเนื้อแขน
Doppler velocimetry
ใช้คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจการไหลเวียนเลือดของหลอดเลือดแดงในมดลูก
Specific blood testing
เช่น
ตรวจ PIGF
ตรวจ sFIt-1
Mean arterial blood pressure
มากกว่า 90 mmHg.
คือเสี่ยงสูง
แนวทางการรักษา
การรักษา preeclampsia without severe features
รับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
ตรวจโปรตีนในปัสสาวะ 24 ชม.
ให้นอนพัก
ประเมินตามดันโลหิตทุก 4 ชม.
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
บันทึกการรับประทานอาหาร และชั่งน้ำหนักทุก2 ชม.
การรักษา preeclampsia with severe features
รับไว้รักษาในโรงพยาบาล
พักผ่อนบนเตียงเต็มที่
เริ่มให้ยา MgSO4 ทางหลอดเลือดดำ
ประเมินอาการแสดของ Mg toxicityเป็นระยะ
ให้ยาลดความดันโลหิต
ส่งตรวจ blood testing
เลี่ยงการให้ยาขับปัสสาวะ
การรักษา Eclampsia
ควบคุมการชักและป้องกันการชักซ้ำ
ให้ยาลดความดันโลหิต
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในขณะชักและหลังชัก
ติดตามและตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ขาที่ใช้ในการรักษา
ยาป้องกันการชัก
MgSO4
รักษาภาวะ preeclampsia
เพิ่มการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงที่มดลูกและไต
ทำให้ความดันโลหิตลดลง
ผลข้างเคียง
ทำให้กล้ามเนื้อคลานตัว
กล้ามเนื้อมดลูกรัดตัวตามธรรมชาติไม่มี
ทำให้เกิดการสะสมของ Magnesium
ในกระแสเลือด
ร้อนวูบวาบทั้งตัว
เซื่องซึม ง่วงนอน
เหงื่อออกมาก
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ยาลดความดันโลหิต
Hydralazine
ทำให้หลอดเลือดคลายตัว
ความดันโลหิตลดลง
Cardiac output เพิ่มขึ้น
เลือดเลี้ยงรกดีขึ้น
ผลข้างเคียง
ปวดหัว
วิงเวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม
คลื่นไส้ อาเจียน
ใจสั่น
หัวใจเต้นจังหวะไม่สม่ำเสมอ
จุกยอดอก
Labetalol
มีผลลดตามด้านทานของ
หลอดเลือดส่วนปลาย
ผลข้างเคียง
ความดันโลหิตต่ำ
เวียนหัว
คลื่นไส้
คัดจมูก
หายใจลำบาก
เหนื่อยล้า
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ข้อควรระวัง
ควรเลี่ยงไม่ให้ลุกขึ้น
ควรนอนพักอย่างน้อย 3 ชม.หลังได้รับยา
Nifedipine
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงานน้อยลง
อัตราการเต้นของหัวใจลดลง
ทำให้หลอดเลือดส่วนปลายคลายตัว
ผลข้างเคียง
ปวดหัว
ใจสั่น
เวียนหัว
คลื่นไส้
เหงือกอักเสบ
ท้องผูก
การพยาบาล
ภาวะ preeclampsia without severe features
ดูแลให้นอนพักบนเตียง
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชม.
ดูแลและติดตามประเมินผลการตรวจ
เฝ้าระวัง ติดตาม อาการและอาการแสดง
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารธรรมดา บันทึกสารน้ำเข้า-ออก
ดูแลติดตามการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ประเมินและให้การประคับประคองภาวะทางอารมณ์และจิตใจ
ภาวะ preeclampsia with severe features
ดูแลให้นอนพักบนเตียงอย่างเต็มที่
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชม.
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้า-ออก
ประเมินอาการนำก่อนชัก
ดูแลให้ยาป้องกันชัก MgSO4
ดูแลให้ได้รับยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ดูแลให้ทารกปลอดภัย
ดูแลให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดอย่างปลอดภัย
ประคับประคองด้านจิตใจ
ภาวะ Eclampsia
ใส่ Oral airway
จัดให้นอนตะแคงใส่ไม้กั้นเตียง
ให้ออกซิเจนขณะชักและหลังชัก
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพ
บันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออก
สังเกตและบันทึกอาการทางสมอง
ระดับความรู้สึกตัว
การตอบสนองต่อแสง
ให้NPOตามแผนการรักษา
ดูแลป้องกันการชักซ้ำหลังคลอด
ดูแลทารกแรกเกิด