Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน (Health out comes and Unit cost) - Coggle…
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน
(Health out comes and Unit cost)
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เป็นการประเมินระหว่าง ต้นทุน(cost s) และ ผลลัพธ์ (benefits)
การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัญในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical outcome type)
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน หรือ ผลลัพธ์ระยะกลาง กำหนดผลลัพธ์ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวแทนผลลัพธ์สุขภาพ
ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ
ค่าสัญญาณทางกายภาพ (Physical)
ผลลัพธ์สุดท้าย (Final outcomes) ผลลัพธ์ทางสุขภาพขั้นสุดท้าย ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีความสำคัญกับผู้ป่วย
ความรู้สึก
การปฏิบัติหน้าที่
การรอดชีวิต
ข้อดีและข้อเสียของผลลัพธ์ทางสภาวะสุขภาพ
ผลที่เป็นตัวแทน Intermediate outcomes
ข้อดี
มีค่าที่ชัดเจน
สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
สามารถวัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึ้นในระยะสั้น
ข้อเสีย
ไม่ได้บ่งชี้ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
ผลสุดท้าย
Final outcomes
ข้อดี
เป็นตัวแทนที่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
ครอบคลุมผลการรักษา
มีความชัดเจนด้านนโยบาย
ข้อเสีย
อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย
ค่าใช้จ่ายสูง
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
มุมมองต้นทุน
ประเภทของต้นทุน (Cost)
ประเภทของการศึกษาต้นทุน (Unit cost analysis)
ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
Activity Approach
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน: Cost Centre Approach
1.วิเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม
(Determine activity analysis unit)
2.หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
(Direct Cost Determination)
3.หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
(Allocation criteria)
4.หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม
(Full Activity Cost Determination)
5.หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม
(Activity unit Cost)
3.การค้านวณต้นทุนทางลัด
เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี
ค่าวัสดุ ค่าวัสดุสิ้นเปลือง ค่าเวชภัณฑ์ ค่าสาธารณูปโภค
ค่าครุภัณฑ์: ค่าเสื่อมราคาครุภัณฑ์
ค่าแรง: ค่าแรงที่ควบคุมได้ , ค่าแรงที่ควบคุมไม่ได้
Cost Centre Approach
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม (Allocation criteria)
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน
(Cost Centre Identification & Grouping)
หาต้นทุนรวมทั้งหมด (Full Cost Determination)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
(Direct Cost Determination)
หาต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost)
ต้นทุนค่าแรง
(LABOUR COST)
ค่าเล่าเรียนบุตร
ค่าช่วยเหลือบุตร
ค่ารักษาพยาบาล
ค่าตอบแทนล่วงเวลา
ต้นทุนค่าวัสดุ
(MATERIAL COST)
ค่าวัสดุสานักงาน
วัสดุงานบ้าน
วัสดุเครื่องแต่งกาย
ยา, เวชภัณฑ์
ต้นทุนค่าลงทุน
เครื่องมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์
ยานพาหนะ : รถยนต์, มอเตอร์ไซด์
อาคาร และสิ่งปลูกสร้าง
ประโยชน์ของการศึกษาข้อมูลต้นทุน
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพจากการเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้
ท้าให้มีข้อมูลและสามารถนeเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวดและมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
ประเภทของต้นทุน (Cost)
ต้นทุนทางการแพทย์ Medical costs vs
ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์ NonNon-medical costs
ต้นทุนที่จับต้องได้ Tangible costs vs
ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ Intangible costs
ต้นทุนค่าลงทุน Capital costs vs.
ต้นทุนดำเนินกำร Operation al Recurrent costs
ต้นทุนทางตรง Direct costs vs
ต้นทุนทำงอ้อม Indirect costs
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนผันแปร (Variable cost :VC)
ต้นทุนรวม (Total cost: TC หรือ Full cost)
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost :FC)
ผลผลิต OUTPUT
บริการOPD จำนวนครั้งของบริการ
บริการ IPD จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน
การเรียนการสอน จำนวนนักศึกษา
งานวิจัย จำนวนงานวิจัยที่เผยแพร่