Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, นางสาวสุธิตา ปู่คำ…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
อาการและอาการแสดง
อาการที่พบขึ้นอยู่กับ vascular injury และend organ damage
ทาให้เกิดอาการทางสมอง เรียกว่า hypertensive encephalopathy
การมองเห็นผิดปกติ
สับสน
ปวดศรีษะ
คลื่นไส้
อาเจียน
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
น้ําท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
การซักประวัติ
สาเหตุของความดันโลหิตสูง
renal artery stenosis
โรคของต่อมหมวกไต
coarctation ของ aorta
โรคไทรอยด์เป็นพิษ
การสูบบุหรี่
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
โรคประจําตัว
โรคความดันโลหิตสูง
ความสม่ําเสมอในการรับประทานยา
สอบถามอาการของอวัยวะที่ถูกผลกระทบจากโรคความดันโลหิตสูง (target organ damage, TOD)
โรคหลอดเลือดสมอง
blurred vision
change in level of consciousness
Headache
Coma
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทําให้ความดันโลหิตสูง
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
ยาคุมกําเนิด
การตรวจร่างกาย
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
โรคหลอดเลือดสมอง
พบ Papilledema
ประเมินภาวะ increased intracranial pressureตรวจ retina
พบ cotton-wool spots and hemorrhages
retina blood vessels และ retina nerves ถูกทําลาย
มีอาการ แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ หมดสติ ตรวจจอประสาทตา
วัดสัญญาณชีพ
หมายถึง ค่าความดันโลหิตซิสโตลิก ตั้งแต่ 140 มิลลิเมตรปรอทและความดันโลหิตไดแอสโตลิกตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอท
Cardiovascular disease (CVD)
โรคของหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่
โรคหัวใจล้มเหลว
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย
Hypertensive urgency
ความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทําลาย
ไม่จําเป็นต้องรับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก
Target organ damage(TOD)
ภาวะโปรตีนขับออกมากับปัสสาวะ(microalbuminuria)
โรคไตเรื้อรังในระดับปานกลางถึงรุนแรง
หัวใจห้องล่างซ้ายโต
โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลายที่ยังไม่มีอาการ
การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
Hypertensive retinopathy
Hypertensive emergency
ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท
Acute MI, Stroke, และKidney failure
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC
ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ตรวจการทํางานของไตจากค่า Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบูมินในปnสสาวะ
ประเมินหาความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดจากการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12-lead ECG) และ chest X-ray
การรักษา
ผู้ป่วย Hypertensive crisis
ให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดํา
เพื่อลดความดันโลหิตให้อยู่ในระดับที่้ต้องการโดยป้องกันอวัยวะต่างๆไม่ให้ถูกทําลาย
ต้องให้การรักษาทันทีใน ICU
การพยาบาล
ในระหว่างได้รับยา
ติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
เพื่อป้องกันการลดลงของความดันโลหิตอย่างรวดเร็ว
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ชีพจร capillary refill อุณหภูมิของผิวหนัง
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต
ปริมาณปัสสาวะสมดุลกับสารน้ำที่รับเข้าร่างกาย ค่า BUN Cr ปกติ
ระยะเฉียบพลัน
เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด
Cardiacsymptoms
Acute kidney failure
Neurologic symptoms
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
sodium nitroprusside
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทํากิจกรรม
ให้ความรู้ข้ออมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ประเภทของ AF
Persistent AF ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ด้วยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Permanent AF เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปี โดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AFหมายถึง AFที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Paroxysmal AF หายได้เองภายใน 7 วัน
Lone AFหมายถึง AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว เกิดจากจุดปล;อยกระแสไฟฟ้า (ectopic focus)ใน atrium
สาเหตุ
โรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูหTมาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลําชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
digoxin, beta-blocker, calcium channel blockers, amiodarone
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทํา Cardioversion
เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
ตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ventricle
สาเหตุ
(Myocardial infarction)
(Rheumatic heart disease)
(Digitalis toxicity)
อาการและอาการแสดง
เกิดทันที ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลําบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
นําเครื่อง Defibrillator
คลําชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จํานวนปัสสาวะ
ดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ทํา CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ventricle
สาเหตุ
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypothermia
Hypoxia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Hypovolemia
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
เกิดทันที คือ หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์ และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทํา CPR ทันที
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
ความหมาย
การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็ว
จากการทํางานผิดปกติของหัวใจทั้งการบีบตัวหรือการคลายตัวของหัวใจ
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดได้จากหลายสมมติฐาน ทั้งการคั่งของน้ําและเกลือแร่ ความผิดปกติของการไหลเวียนโลหิต ความผิดปกติทางระบบประสาทและฮอร์โมน ภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรัง ภาวะที่มีความผิดปกติของหัวใจ ภาวะเหล่านี้ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงอาการที่แย่ลง ทําให้มีปริมาณเลือดในหัวใจมากเกินไป ในระยะเวลานานทําให้หัวใจทํางานหนักมากขึ้น
เกิดพังผืด เซลล์ตาย กล้ามเนื้อหัวใจหนา
หัวใจลดลง ร่างกายจึงมีการปรับสมดุล
รักษาปริมาณเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย
สาเหตุ
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
ภาวะหัวใจวาย
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
มีอาการแสดงได้ 6 รูปแบบ
Pulmonary edema
Cardiogenic shock
Hypertensive acute heart failure
High output failure
Acute decompensated heart failure
Right heart failure
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยที่พบบ่อย
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย บวมตามแขนขา
ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ํา/สูง
ท้องอืดโต แน่นท้อง ปัสสาวะออกน้อย/มาก
หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว เส้นเลือดดําที่คอโป่งพอง
ฟังได้ยินเสียงปอดผิดปกติ(Lung crepitation)
การรักษา
การดึงน้ําและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
การให้ยาขับปัสสาวะ
การจํากัดสารน้ําและเกลือโซเดียม
การเจาะระบายน้ํา
การใช้ยา
ยาขยายหลอดเลือด เช่น sodium nitroprusside (NTP)
ยาที่ใช้ในช็อคเช่น adrenaline, dopamine, dobutamine, norepinephrine (levophed)
ยาขยายหลอดเลือดหัวใจเช่น nitroglycerine/isodril(NTG)
ยาบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก เช่น morphine
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ เช่น amiodarone
ยาละลายลิ่มเลือด เช่น coumadin
ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ digitalis (digoxin)
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด เช่น aspirin, plavix, clopidogrel
การลดการทํางานของหัวใจ
การให้ออกซิเจน
การใส่เเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ
Intra-aortic balloon pump
การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน
การรักษาสาเหตุ
การเปลี่ยนลิ้นหัวใจในโคโรนารี
การรักษาภาวะติดเชื้อ
การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนา
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, biochemical cardiac markers, ABG
การตรวจพิเศษ
CXR, echocardiogram, CT, coronary artery angiography (CAG)
การซักประวัติและตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการทางคลินิกที่เกี่ยวข้อง
อาการหอบเหนื่อย
ภาวะบวม
อาการเจ็บหน้าอก
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การพยาบาล
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลล์ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การลดการทํางานของหัวใจ
ภาวะช็อก (Shock)
ทําให้เกิดการตายหากผู้ป่วยได้รับการจัดการกับภาวะช็อกล่าช้า การวินิจฉัย การจัดการที่เหมาะสม ถูกต้อง และรวดเร็ว
ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนที่สูงไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกายลดต่ำลงกว่าความต้องการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อและอวัยวะ
เกิดจากการไหลเวียนโลหิตไปยังเนื้อเยื่อส่วนต่างๆไม่เพียงพอ
ทําให้เกิดภาวะเสียสมดุลระหว่างปริมาณออกซิเจนที่ถูกขนส่งไปยังเนื้อเยื่อ
พยาธิสรีรวิทยา
การไหลเวียนโลหิตล้มเหลว อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่ง ทําให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต้อการหดตัวหนึ่งครั้ง (Stoke volume)และปริมาณของเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาที(Cardiac output, CO)ลดลงเป็นผลให้ระดับความดันโลหิตตัวบนลดต่ําลง
ส่งผลต่อการนําออกซิเจนสูงเนื้อเยื่อส่วนปลาย(DO2) และทําให้เกิดการขาดออกซิเจนในระดับเซลล์ ร่างกายจะตอบสนองต่อความผิดปกตินี้โดยการกระตุ้นระบประสาทซิมพาเธติก
เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจและการบีบตัวเพื่อเพิ่มปริมาตรของเลือดที่ออกจากหัวใจ
ร่างกายจะมีการกระตุ้นให้หลอดเลือดส่วนปลายมีการหดตัวเพื่อนําเลือดไปเลี้ยงอวัยวะที่สําคัญ
ร่างกายจะมีการตอบสนองต่อการเพิ่มปริมาณออกซิเจนโดยการเพิ่มอัตราการหายใจและหายใจลึกขึ้น
ระยะของช็อก
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย
เซลล์ในร่างกายเริ่มตาย
การทํางานของอวัยวะต่างๆลดลง
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า
มีภาวะแทรกซ้อนจากอวัยวะล้มเหลว
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยช้าเกินไป
ทําให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆในร่างกายได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก
การรักษาในระยะนี้มักจะไม่ได้ผล ผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตสูง
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่เริ่มต้น
ได้รับการรักษาทั้งการให้สารน้ําและยาที่เหมาะสม
ผลการรักษาจะดีและมีภาวะแทรกซ้อนเพียงเล็กน้อย
ประเภทของช็อก
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว(Cardiogenic shock)
ทําให้ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจ(Venous return หรือ preload)ลดลง
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว(Distributive shock, vasogenic / vasodilatory shock, Inflammatory shock)
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ(Septic shock)
ภาวะช็อกจากการแพ้ (Anaphylactic shock)
ภาวะช็อกจากการทํางานผิดปกติของต่อมหมวกไต(Hypoadrenal /adrenocortical shock)
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ํา(Hypovolemic shock)
(การสูญเสียมากกว่า 30-40% ของปริมาตรเลือด)
ทําให้ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจ(Venous return หรือ preload)ลดลง
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท(Neurogenic shock)
อาการ
ความผิดปกติของระบบการไหลเวียนโลหิต
การติดตาม
ความดันโลหิต และความดันในหลอดเลือดดําใหญ่
ระยะเวลา
ขึ้นอยู่กับสาเหตุ ในผู้ที่มีการบาดเจ็บของสันหลังเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงแรกจนถึง 1-3 สัปดาห์
พยาธิสภาพ
ระบบประสาทซิมพาเธติกทํางานบกพร่อง และหลอดเลือดส่วนปลายมีการขยายตัว
สาเหตุ
สาเหตุที่มีผลต่อการทํางานของประสาทซิมพาเธติก รวมถึงการบาดเจ็บของไขสันหลัง
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ(Obstructive shock)
เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียนของโลหิตไปสู่หัวใจห้องซ้าย
อาการและอาการแสดง
ระบอวัยวะ
ไตและการขับปัสสาวะ
อาการแสดง
ปัสสาวะออกน้อย
ทางเดินอาหาร
อาการแสดง
กระเพาะอาหารและลําไส้ขาดเลือด ตับอ่อนอักเสบ ดีซ่าน การย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ ตับวาย
หายใจ
อาการแสดง
หายใจเร็วลึก ระดับออกซิเจนในเลือดต่ํา ระบบหายใจล้มเหลว
เลือดและภูมิคุ้มกัน
อาการแสดง
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วร่างกาย เม็ดเลือดขาวทํางานบกพร่อง
หัวใจและหลอดเลือด
อาการแสดง
ชีพจรเบาเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หลอดเลือดส่วนปลายหดตัว ผิวหนังเย็นซีด
ต่อมไร้ท่อ
อาการแสดง
น้ําตาลในเลือดสูงหรือต่ํา ภาวะร่างกายเป็นกรด
ประสาทส่วนกลาง
อาการแสดง
กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ เซลล์สมองตาย
การรักษา
กําหนดเป้าหมายให้ค่าความดันโลหิตเฉลี่ย (MAP)มากกว่าหรือเท่ากับ 65 mmHg ประกอบด้วย
การให้สารน้ำ ได้แก่ Crystalloid solution เพื่อเพิ่มปริมาตรของสารน้ําในหลอดเลือด เช่น Ringer's lactate solution (RLS), 0.9% NSS
การให้ยาที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ (Inotropic agent)และการหดตัวของหลอดเลือด (Vasopressor agent)เช่น Dopamine, Dobutamine, Epinephrine Norepinephrine
การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
การรักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก
เช่น การให้ยาปฏิชีวนะ
การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษ
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
นางสาวสุธิตา ปู่คำ 6101211085 Sec B