Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ Pregnancy Induced Hypertension - Coggle…
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ Pregnancy Induced Hypertension
ระดับความดันโลหิตในสตรีตั้งครรภ์
โดยทั่วไประดับความดันโลหิตในสตรีตั้งครรภ์จะต่ํากว่าขณะที่ไม่ตั้งครรภ์และจะต่ําสุดในระยะไตรมาสที่2ของการตั้งครรภ์หลังจากนั้นจะค่อยๆเพิ่มขึ้นในไตรมาสที่3 จนกระทั่งอยู่ในระดับเดียวกับขณะที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
ความหมายของภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertension: PIH) หมายถึงภาวะความดันโลหิตสูงที่มีสาเหตุจากการตั้งครรภ์ พบในระยะครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูงหลังคลอด (postpartum hypertension) หมายถึง สตรีที่มีความดันโลหิตปกติขณะตั้งครรภ์ (normotensive gestation) แล้วมีความดันโลหิตสูงขึ้นในช่วง 2 สัปดาห์หลังคลอด ถึง 6 เดือนหลังคลอด จากนั้นความดันโลหิตกลับสู่ปกติในปลายปีแรก
ภาวะความดันโลหิตสูง (hypertension) หมายถึง ภาวะที่ค่าความดันโลหิตช่วงหัวใจบีบตัว (systolic BP) อย่างน้อย 140 mmHg.หรือค่าความดันโลหิตช่วงหัวใจคลายตัว (diastolic BP) อย่างน้อย 90 mmHg.หรือทั้งสองค่า โดยวัด 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง ภายหลังการพัก
ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะชัก (eclampsia)
พยาธิสรีรภาพของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ระบบไต (renal system) จากการที่ปริมาณการไหลเวียนที่ไตลดลงประกอบกับมีการทำลายของชั้นเยื่อบุหลอดเลือดในไตเกิด glomerular capillary endotheliosis ทำให้ glomerular infiltration rate ลดลง ส่งผลให้ปริมาณปัสสาวะลดลง และระดับ serum uric acid และ creatinine เพิ่มขึ้น
ระบบหัวใจและปอด (cardiopulmonary system) ) ในภาวะครรภ์เป็นพิษที่รุนแรงจะมี plasma albumin ลดลง เนื่องมาจากเกิด proteinuria และการรั่วของ capillaries นี้ทำให้ colloid osmotic pressure ลดลง จึงมีความเสี่ยงต่อการเกิดน้ำท่วมปอด
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด (hematologic and coagulation system) เกิดภาวะเกล็ดเลือดต่ำเฉียบพลัน และมีปัจจัยการแข็งตัวของเลือดชนิดอื่นๆ ลดลงด้วย
ระบบตับ (hepatic system) การเกิด generalized vasoconstriction ทำให้เกิด hepatic ischemia และส่งผลให้ ระดับเอนไซม์ aspartate aminotransferase (AST) หรือ serum glutamic oxaloacetic transaminase (SGOT) แ ล ะ alanine aminotransferase (ALT) สูงขึ้น
ระบบการมองเห็น (visual system) จากการหดรัดตัวของหลอดเลือดที่จอตา (retinal arteriolar vasospasm) ทำให้เกิด retinal edema เกิดอาการตาพร่ามัว (blurred vision)
รก และมดลูก (placenta and uterus) จากการหดรัดตัวของหลอดเลือด spiral arteriole ใน 7. รก และมดลูก (placenta and uterus) จากการหดรัดตัวของหลอดเลือด spiral arteriole ใน
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ผ่านการคลอดบุตรคนก่อนมาอย่างน้อย 10 ปี มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น
สตรีอายุมากขึ้นตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ทั้งสตรีที่ไม่เคยผ่านการคลอด และเคยผ่านการคลอดมาแล้ว
ประวัติครรภ์เป็นพิษในครรภ์ก่อน มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 7 เท่า
ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 kg/m2 ขึ้นไป หรืออ้วน
สตรีที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อน (nulliparity)
ความผิดปกติทางสูติกรรม เช่น กลุ่มอาการถุงน้ำรังไข่หลายใบ (polycystic ovarian
syndrome: PCOS) การทำเด็กหลอดแก้ว ภาวะที่รกทำงานมากกว่าปกติ (hyperplacentosis
สาเหตุของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ระยะที่ 1 ระยะก่อนแสดงอาการ (preclinical หรือ asymptomatic stage) เป็นระยะที่เกิด
ความผิดปกติที่รก
ระยะที่ 2 ระยะแสดงอาการ (clinical stage) รกที่ขาดออกซิเจนจะมีการหลั่งสารต่าง ๆ
ออกมาในกระแสเลือด
อาการและอาการแสดง
1. ภาวะ preeclampsia
1.Systolic BP ≥ 160 mmHg. หรือ Diastolic BP ≥ 110 mmHg
2.น้ำท่วมปอด
3.Eclampsia คือ มีอาการชักแบบชักทั้งตัว
4.เลือดออกในสมอง
ภาวะไตวาย serum creatinine ≥ 1.1 mg/dL. หรือปริมาณปัสสาวะออกน้อยกว่า
500 มิลลิลิตร ใน 24 ชั่วโมงหลังจากได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
การทำงานของตับผิดปกติ ระดับเอนไซม์ AST และ/หรือ ALT สูงกว่า 70 IU/L หรือ
มากกว่า 2 เท่าของค่าเดิม
เกล็ดเลือดต่ำ มี platelet count < 100,000 ต่อไมโครลิตร
ระบบการแข็งตัวของเลือดผิดปกต
HELLP syndrome
ภาวะครรภ์เป็นพิษก่อนระยะชัก
เกณฑ์การประเมินความรุนแรงของภาวะ preeclampsia
Diastolic BP =110 mmHg.
Systolic BP=160 mmHg.
ชัก
การทำงานของไตผิดปกติ:
Serum creatinine
เกณฑ์การวินิจฉัย preeclampsia
มีโปรตีนในปัสสาวะ
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะอย่างน้อย 300 มิลลิกรัมในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง หรืออัตราส่วนโปรตีนต่อครีเอตินินในปัสสาวะสูง ≥0.3 หรือ เมื่อใช้แผ่นตรวจ dipstickมีระดับโปรตีนในปัสสาวะตั้งแต่ 1+ ขึ้นไป
เกล็ดเลือดต่ํา
เกล็ดเลือดต่ํากว่า 100,000 ต่อไมโครลิตร
ความดันโลหิตสูงวิกฤต
Systolic BP ≥ 160 mmHg.หรือ diastolic BP ≥ 110 mmHg.โดยวัดในท่าพัก 2 ครั้งห่างกันไม่นาน (เป็นนาที)
อาการทางสมอง
-ปวดศีรษะ ซึม หรือหมดสติ
ความดันโลหิตสูง
Systolic BP ≥140 mmHg.หรือ diastolic BP ≥ 90 mmHg.โดยวัดในท่าพัก 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ ที่ไม่เคยมีประวัติความดันโลหิตสูงมาก่อน
อาการทางตา
ตาพร่ามัว หรือมีจุดบอดในลานสายตา
ชนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์*
3. ครรภ์เป็นพิษ หรือ ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก(preeclampsia)
ปัจจุบันกรณีตรวจไม่พบโปรตีนในปัสสาวะตามเกณฑ์ที่กําหนด ให้วินิจฉัยโดยใช้เกณฑ์การตรวจพบ ความดันโลหิตสูงร่วมกับเกณฑ์การทํางานผิดปกติของอวัยวะสําคัญ (end-organ dysfunction) อย่างน้อย 1 อย่าง
4. ครรภ์เป็นพิษซ้อนทับกับความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (preeclampsia superimposed on chronic hypertension)
ภาวะ superimposed preeclampsia ในสตรีความดันโลหิตสูงเรื้อรังที่ไม่เคยมีโปรตีนในปัสสาวะก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ให้ใช้เกณฑ์การตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะที่เกิดขึ้นใหม่ สําหรับสตรีความดันโลหิตสูงเรื้อรังที่มีโปรตีนในปัสสาวะอยู่เดิม การวินิจฉัยให้ใช้เกณฑ์การตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะที่เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน หรือพบการทํางานผิดปกติของอวัยวะสําคัญอย่างน้อย 1 อย่าง
2. ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (chronic/ preexisting hypertension)
หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงที่เป็นมาก่อนการตั้งครรภ์ หรือวินิจฉัยได้ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ โดยที่ความดันโลหิตสูงเกิดจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่ gestational trophoblastic diseases หรือหากวินิจฉัยความดันโลหิตสูงได้ครั้งแรกหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ความดันโลหิตนั้นยังคงสูงอยู่นานกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด
1. ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์(gestational hypertension)
การวินิจฉัยจะทําได้แน่นอนหลังคลอด ประมาณร้อยละ 50 จะพัฒนาไปเป็นภาวะครรภ์เป็นพิษ ในกรณีที่ไม่มีการแสดงอาการของภาวะครรภ์เป็นพิษ และความดันโลหิตกลับสูงปกติใน 12 สัปดาห์หลังคลอด อาจถูกจัดกลุ่มเป็นภาวะความดันโลหิตสูงชั่วคราว (transient hypertension)
2. ภาวะ Eclampsia
2.3 ระยะชักเกร็ง (Stage of contraction หรือ tonic stage)
มีอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย ลำตัวเหยียด ศีรษะหงายไปด้านหลัง มือกำแน่น แขนงด ขาบิดเข้าด้านใน และตาถลน
2.4 ระยะชักกระตุก (Stage of convulsion หรือ clonic stage)
จะมีการกระตุกของกล้ามเนื้อทั่วร่างกายอย่างแรง มีการกระตุกของขากรรไกร อาจกัดลิ้นบาดเจ็บ มีน้ำลายฟูมปาก
2.2 ระยะเริ่มแรกของอาการชัก (Stage of invasion)
มีอาการกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าและมุมปากกระตุก ริมฝีปากเบี้ยว ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 2-3 วินาที
2.5 ระยะหมดสติ (coma หรือ unconscious)
เกิดภายหลังการชักกระตุก นอนนิ่งไมเคลื่อนไหวอยู่ในสภาพหมดแรง
2.1 ระยะก่อนชัก (Premonitoring stage)
อาจมีอาการหรืออาการแสดงบอกล่วงหน้า
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และทารก
หัวใจขาดเลือด
หัวใจล้มเหลว จากการมี venous return เพิ่มอย่างรวดเร็ว
เลือดแข็งตัวผิดปกติ(DIC)
ไตวายเฉียบพลัน เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
น้ำท่วมปอด หรือปอดบวมน้ำ
เลือดออกในสมอง (cerebral henorrhage)
10.ทารกคลอดก่อนกำหนด
9.ขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรด
8.ทารกโตช้าในครรภ์
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ
ทารกตายในครรภ์เฉียบพลันหรือตายในระยะแรกเกิด
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
1.1 ซักประวัติเพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
1.2 ประวัติอาการและอาการแสดงของภาวะ preeclampsia
การตรวจร่างกาย
2.1 การประเมินความดันโลหิต สามารถประเมินภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์
โดยทั่วไปการวัดความดันโลหิตควรใช้ cuff ในขนาดที่เหมาะสม
2.2 การประเมินระดับรีเฟล็กซ์ (grading reflexes) มี 5 ระดับคะแนน
ระดับ 0 = ไม่มี reflex หรือ ไม่มีการตอบสนอง
ระดับ 1 = มี reflex ลดลงหรือน้อยกว่าปกติ
ระดับ 2 = มี reflex ปกติ
ระดับ 3 = มี reflex ไวกว่าปกติ บ่งชี้ว่าอาจมีภาวะโรค
ระดับ 4 = มี reflex ไวมาก hyperactive มีการชักกระตุก
2.3 การประเมินอาการบวม ปกติการบวมมักสังเกตเห็นในระยะไตรมาสที่ 3 และส่วนใหญ่
จะปรากฏชัดเจนในระยะ 2-3 สัปดาห์ก่อนคลอดระดับของอาการบวม มี 4 ระดับ ดังนี้
1+ = บวมเล็กน้อยบริเวณเท้าและหน้าแข้ง
2+ = บวมที่ขาทั้ง 2 ข้างบริเวณ lower extremities ค่อนข้างมาก
3+ = บวมชัดเจนบริเวณใบหน้า มือ ผนังหน้าท้องส่วนล่างและบริเวณ sacrum
4+= บวมชัดเจนทั่วทั้งตัว มีascites เนื่องจากมีการสะสมของน้ำบริเวณ peritoneal
cavity
2.4 ประเมินอาการบวมกดบุ๋ม (pitting edema) มี 4 ระดับ ดังนี้
1+ = บุ๋มจากผิวหนังประมาณ 2 มิลลิเมตรและหายไปอย่างรวดเร็ว
2+ = บุ๋มจากผิวหนังประมาณ 4 มิลลิเมตรและหายไปภายใน 10-15 วินาที
3+ = บุ๋มจากผิวหนังประมาณ 6 มิลลิเมตรและหายไปใช้เวลา > 1 นาที
4+ = บุ๋มจากผิวหนังประมาณ 8 มิลลิเมตรและหายไปใช้เวลา 2-3 นาที
2.5 ประเมินการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนัก
ค่าน้อยกว่า 19.8 ถือว่าน้ำหนักตัวน้อย
ค่าระหว่าง 19.8 - 26.00 น้ำหนักปกติ
ค่าระหว่าง 26.00 – 29.00 น้ำหนักตัวมาก
ค่ามากกว่า 29.00 เป็นกลุ่มอ้วน (obese)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hematocrit (Hct)= 37-47%
Platelet count (Plt) = 150,000-400,000
cells/mm2
Hemoglobin (Hb) =11-16 gm%
Prothrombin time (PT) = 12-14 sec
การตรวจพิเศษ การตรวจพิเศษเพื่อทำนายการเกิด preeclampsia
4.1 Angiotensin sensitivity test เป็นการทดสอบโดยฉีดสาร angiotensin II เข้าทางหลอดเลือดดำ และวัดระดับความดันโลหิต
4.2 Roll over test เป็นการทดสอบที่ทำเมื่ออายุครรภ์อยู่ระหว่าง 28-32 สัปดาห์ วัดความดันโลหิตขณะอยู่ในท่านอนตะแคงซ้าย 15 นาท
4.3 Isometric exercise เป็นการทดสอบโดยให้สตรีตั้งครรภ์เกร็งกล้ามเนื้อแขน หากความดันโลหิตสูงขึ้นภายหลังการทดสอบ แสดงว่ามีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษ
4.4 Doppler velocimetry เป็นการใช้คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจการไหลเวียนเลือดของหลอดเลือดแดงในมดลูก เพื่อช่วยทำนายผลการตั้งครรภ์ที่ไม่ดี ภาวะครรภ์เป็นพิษจาก uterine arteries
4.5 Specific blood testing
4.6 Mean arterial blood pressure (MAP) ถ้าพบว่ามีค่าเฉลี่ยมากกว่า 90 mmHg. แสดงว่าสตรีตั้งครรภ์รายนั้นมีความเสี่ยงสูง
แนวทางการรักษา
การรักษา eclampsia
3.1 ควบคุมการชักและป้องกันการชักซ้ำโดยให้ MgSO4 loading dose ตามด้วย
maintenance dose ให้ทางหลอดเลือดดำ
3.2 หากชักในขณะได้ MgSO4 อยู่ ให้เจาะเลือดเพื่อตรวจหา Mg level ทันที ส่วนในรายที่มี
การเจ็บครรภ์คลอดแล้ว ให้ load ซ้ำได้อีก 2-4 g. โดยไม่ต้องรอผล Mg level
3.3 ให้ยาลดความดันโลหิตเมื่อ systolic BP ≥ 160 mmHg. หรือ diastolic BP ≥ 110
mmHg.
3.4 ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในขณะชักและหลังชัก โดยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง อาจใส่ oral
airway หรือ mouth gag เตรียมเครื่องดูดเสมหะ งดน้ำและอาหารทางปาก และลดสิ่งกระตุ้น
3.5 ติดตามและตรวจสอบอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา ควบคุมสัญญาณชีพ
โดยเฉพาะการหายใจ ให้ออกซิเจนทาง canular หรือ face mask
3.6 ตรวจสอบภาวะ oliguria หรือ anuria โดยคาสายสวนปัสสาวะ และวัดปริมาณปัสสาวะ
ทุกชั่วโมง
3.7 ไม่ควรใช้ยา diazepam เนื่องจากจะกดระดับความรู้สึก
3.8 Eclampsia ที่มีการเจ็บครรภ์คลอด ห้ามใช้ยา tocolytic drug ในทุกกลุ่มอายุ
3.9 เริ่มกระบวนการ augmentation of labor พิจารณาช่วยคลอดด้วยคีมหรือเครื่องดูด
สุญญากาศ
3.10 เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
3.11 ให้ magnesium sulfate ต่อไปจนครบ 24 ชั่วโมงหลังคลอด
การรักษา preeclampsia with severe features
2.1 ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกราย
2.3 เริ่มให้ยา magnesium sulfate (MgSO4) ทางหลอดเลือดดำทันที เพื่อป้องกันการชัก
2.4 ประเมินอาการแสดงของ Mg toxicity เป็นระยะ อย่างน้อยชั่วโมงละครั้ง ได้แก่
2.4.1 Patellar หรือ knee-jerk พบว่า reflex หายไป
2.4.2 อัตราการหายใจ ≤ 14 ครั้ง/นาที
2.4.3 ปัสสาวะ ≤ 100 มิลลิลิตร ต่อ 4 ชั่วโมง หรือ ≤ 25 มิลลิลิตร ต่อชั่วโมง
2.5 ให้ยาลดความดันโลหิตเมื่อ systolic BP ≥ 160 mmHg. หรือ diastolic BP ≥ 110
mmHg.
2.6 ประเมินความดันโลหิตทุก 15 นาที จนกว่าจะคงที่ จากนั้นประเมินทุก 1 ชั่วโมง
จนกระทั่งคลอด
2.7 ส่งตรวจ blood testing ดังกล่าวข้างต้น
การรักษา preeclampsia without severe features
1.2 ซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด
1.3ประเมินความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
1.4 ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อประเมินหรือยืนยันอายุครรภ์ แยกโรค molar pregnancy และ fetal hydrops ถ้าเป็นการตั้งครรภ์ปกติให้ติดตามประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ
1.5ให้รับประทานอาหารธรรมดา บันทึก intake และ output และชั่งน้ำหนักทุก 2 วัน
1.1 ควรรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ยาป้องกันการชัก (anticonvulsant)
Magnesium Sulfate (MgSO4)
MgSO4 ขับออกทางไต ในกรณีที่หลอดเลือดทั่วร่างกายมีการหดรัดตัวจนปัสสาวะออกน้อยลง
ผลข้างเคียงอื่น ๆ ได้แก่ อาการร้อนวูบวาบทั้งตัว เซื่องซึมและง่วงนอน มีเหงื่อออกมาก กล้ามเนื้ออ่อนแรง รีเฟล็กซ์ลดลง
MgSO4 ออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว
ยาลดความดันโลหิต (antihypertensive dtrugs)
2.1 Hydralazine (Apresoline® หรือ Nepresol®)
ผลข้างเคียงที่อาจพบ ได้แก่ ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม คลื่นไส้ อาเจียน ใจสั่น หัวใจเต้นผิดปกติ จังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ จุกเสียดยอดอกซึ่งอาจทำให้สับสนกับ อาการที่เกิดขึ้นจากพยาธิสภาพของ preeclampsia with severe features
2.2 Labetalol (Avexor®)
ผลข้างเคียงที่อาจพบ ได้แก่ความดันโลหิตต่ำ เวียนศีรษะ คลื่นไส้ คัดจมูก หายใจลำบาก เหนื่อยล้า ปฏิกิริยาภูมิไวเกิน ภาวะหัวใจล้มเหลว
ข้อควรระวังคือ ควรหลีกเลี่ยงไม่ให้ลุกขึ้น ควรนอนพักอย่างน้อย 3 ชั่วโมงหลังได้รับยา เฝ้าระวังและติดตามอัตราการเต้นของหัวใจ การหายใจ และเฝ้าระวัง neonatal bradycardia ในทารกแรกเกิด
2.3 Nifedipine (Adalat®)
ผลข้างเคียงที่อาจพบ ได้แก่ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ใจสั่น คลื่นไส้ เหงือกอักเสบ ท้องผูก สิ่งที่ควรระวังมากที่สุดคือการที่ค่าความดันโลหิตลดต่ำลงอย่างรวดเร็ว หากใช้ยานี้ร่วมกับ MgSO4 จะเสริมฤทธิ์กัน ทำให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงทารกในครรภ์ไม่เพียงพอ
ข้อควรระวังในการใช้ยานี้ในสตรีตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 1 และ 2 เนื่องจากยามี teratogenic ต้องการเลี้ยงบุตรด้วยน้ำนมมารดา
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ eclampsia
3.1 ใส่ oral airway หรือ mouth gag เพื่อป้องกันไม่ให้กัดลิ้นและความสะดวกในการดูด
เสมหะและน้ำลาย เพื่อป้องกันการสำลัก
3.2 จัดให้นอนตะแคง ใส่ไม้กั้นเตียง โดยใช้หมอนรองรับรอบด้าน เพื่อป้องกันอันตรายจาก
การชัก
3.3 ให้ออกซิเจนขณะชัก และภายหลังชัก และประเมินความรุนแรงของการขาดออกซิเจน
3.4 ดูแลให้ได้รับยาระงับชักตามแผนการรักษา
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ preeclampsia with severe features
2.1 ดูแลให้นอนพักบนเตียงอย่างเต็มที่ (absolute bed rest) โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบลดการกระตุ้นจากภายนอก
2.2 ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 1 ชั่วโมง
2.3 บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกในแต่ละวัน
2.4 ประเมินอาการนำก่อนการชัก
2.5 ดูแลให้ยาป้องกันชัก MgSO4 ตามแผนการรักษา และให้การดูแลภายหลังให้ยา
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะ preeclampsia without severe features
1.1 ดูแลให้นอนพักบนเตียง (bed rest) ในท่านอนตะแคงซ้าย
1.2 ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
1.3 ดูแลและติดตามประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
1.4 เฝ้าระวัง ติดตาม อาการและอาการแสดงของ preeclampsia ที่รุนแรงขึ้น
1.5 ดูแลให้รับประทานอาหารธรรมดา บันทึกสารน้ำเข้าและออกจากร่างกาย และชั่งน้ำหนัก
1.6 ดูแลติดตามการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
1.7 ประเมินและให้การประคับประคองสภาวะทางอารมณ์ และจิตใจอย่างเหมาะสม