Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เบาหวานในสตรีตั้งครรภ์ (Gestational Diabetes Mellitus of pregnancy) -…
เบาหวานในสตรีตั้งครรภ์ (Gestational Diabetes Mellitus of pregnancy)
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
เบาหวานที่เป็นก่อนการตั้งครรภ์ พบในรายที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 หรือชนิดที่2
เบาหวานที่วินิจฉัยขณะตั้งครรภ์ มักพบหลังอายุ 14-28 สัปดาห์
พยาธิสภาพ
การเพิ่มของฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน ทำให้ beta cell hyperplasia ในตับอ่อนซึ่งทำให้มีการหลั่งอินซูนลินเพิ่มขึ้น สางผลห้ระดับน้ำตาลมารดาลดลงร้อยละ 10 เมื่อรกสร้าง hPL โปรเจสเตอโรน คอร์ติวอล และโปรแลคติน ทำให้เกิดภาวะ Diabetogenic state
อาการและอาการแสดง
สตรีตั้งครรภ์ตรวจพบว่าเป็นเบาหวานแต่อาการไม่แสดง ทราบได้จากการตรวจปัสสาวะ หรือตรวจระดับน้ำตาลในเลือด สำหรับสตรีที่เป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์จะพบอาการ ดังนี้ ปัสสาวะมาก น้ำหนักลด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายคันตามตัว คันอวัยวะสืบพันธ์ ติดเชื้อง่าย
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวาน
เกิดภาวะ Diabetic ketoacidosis ได้ง่าย
การใช้อินซูลินลดระดับลงที่ระดับเซลล์
ความต้องการอินซูลินไม่แน่นอน
เกิดภาวะ Hyperglycemia ได้ง่าย
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีและทารก
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
อัตราการแท้งเพิ่มขึ้น พบในรายที่ควบคุมระดับน้ำตายไม่ดี
เพิ่มอุบัติการณ์คลอดก่อนกำหนด
มีโอกาสเกิดภาวะครรภ์แฝดน้ำ เชื่อว่าน้ำตาลสามารถผ่านส่งไปยังทารกได้
ในรายที่ทารกตัวโตจะทำให้คลอดยาก
3.มีโอกาสเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษ
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะระบบทางเดินปัสสาวะ
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดที่อวัยวะต่างๆ
เป็นปัจจัยทำให้สตรีตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอดเสียชีวิต
ควบคุมโรคยากขึ้น เพราะความต้องการอาหารเปลี่ยนไป อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ทำให้รับประทานอาหารได้น้อยลง
สตรีตั้งครรภ์เกิดความเครียดและวิตกกังวล
ผลต่อทารก
3.ทารกพิการแต่กำเนิด
4.ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ทารกเจริญเติบโตช้า
5.ทารกตัวโตกว่าปกติ
1.ทารกในครรภ์พร่องออกซิเจน
ทารกขาดออกซิเจนแรกคลอด
ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
ทารกมีภาวะหายใจลำบาก
ทารกมัภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ทารกมีภาวะเม้ดเลือดแดงมากเกินไป
ทารกมีภาวะตัวเหลืองแรกเกิด
ทารกมีภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ
ทารกมีภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำ
ทารกมีภาวะหัวใจโต
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ
แนวทางการรักษา
การวางแผนการคลอด
การดูแลหลังคลอด
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
การให้นมบุตร
รักษาด้วยอินซูลิน
การคุมกำเนิด
รักษาด้วยการควบคุมอาหาร
กรณีที่ต้องการตั้งครรภ์อีก
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบาย ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏบัติตัวเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล ควบคุมอาหาร ควบคุมน้ำหนัก ควบคุมน้ำตาลในเลือด พักผ่อนให้เพียงพอ
ดูแลรักษาความสะอาดร่างกายอวัยวะเพศ ระมัดระวังการเดิอุบัติเหตุ สังเกตุดูแลตนเองเมื่อมีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ หากน้ตาลในเลือดต่ำรับประทาน คาร์โบไฮเดรต 20 gm ประมาณ 20 นาที
แนะนำสังเกตอาการ บันทึกการดิ้นของทารก สอนให้เตรียมและฉีดยา แนะนำฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
ระยะคลอด
ประเมินติดตามผลน้ำตาลในเลือด ทุก1ชม. ประเมินสัญญาณชีพ ติดตามสุขภาพทารก ดูแลให้รับยาตามแผนการรักษา หากคลอดทางช่องคลอดไม่ได้เตรียมพร้อมสำหรับการผ่าตัด หลังคลอดประเมินอาการของทารก
ดูแลความสุขสบายทั่วไป พักผ่อน กรณีงดน้ำงดอาหารให้สังเกตุอากาภาวะน้ำตาลต่ำ ดูแลให้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำ ดุแลให้ได้รับยาอินซูลินอย่างสม่ำเสมอ
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
ระยะหลังคลอด
ในรายที่เป็ร overt DM ดูแลให้รับอินซูลินตามแผนการรักษา มารดาหลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดให้นมบุตรโดยเร็ว
ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน แนะนำการคุมกำเนิดที่เหมาะสม
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ ติดตามผลน้ำตาลในเลือดเป็นระยะ ในราย GDM ให้ยาอินซูลินตามแผนการรักษา แนะนำมารดาสังเกตอาการหลังคลอด