Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน (fetal distress) - Coggle Diagram
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน (fetal distress)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
1.การไหลเวียนเลือดไปสู่รกไม่เพียงพอ ทำให้ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
1.2 มารดามีความดันโลหิตต่ำ
1.3การทำหน้าที่ของรกไม่เป็นไปตามปกติ
1.1 มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ
2.ภาวะที่สายสะดือถูกกด (Umbilical cord compression)
พยาธิสภาพ
เมื่อเกิดภาวะสายสะดือถูกกด ทำให้การไหลเวียนเลือดไปรกไม่พอทำให้ทารกใรครรภ์ขาดออกซิเจน ร่างกายทารกตอบสนองโดยเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ เมื่อหัวใจเต้นเร็วขึ้น จะมีการหดตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย แรงต้านหลอดเลือดที่ปอดเพิ่มขึ้น เลือไปยังหัวใจ สอง ไต และรกเพิ่มขึ้น หากไม่ได้รับการแก้ไขการไหลเวียนเลือดจะช้าลง หัวใจเต้นช้าลงหรือหยุดเต้น ทารกเสียชีวิตในที่สุด
อาการและการแสดง
มีขี้เทาปนน้ำคร่ำ ขี้เทาในน้ำคร่ำแบ่งออกเป็น
2.2 Moderate meconium stained คือ คือ ขี้เทาปนน้ำคร่ำปานกลางมีสีเขียวปนเหลือง
2.3 Thick meconium stained คือ ขี้เทาปนน้ำคร่ำมากมีสีเขียวคล้ำและข้น
2.1 Thin or mild meconium stained คือ ขี้เทาปนน้ำคร่ำเล้กน้อยมีสัเหลือง
ทารกดิ้นน้อยลง
การเต้นของหัวใจมารกผิดปกติ abnormal FHR pattern น้อยกว่า 110 ครั้ง/นาที หรือมากว่า 160 ครั้ง/นาที หรือเต้นแบบ late deceleration patterns or variable deceleration
ทารกมีภาวะเลือดเป็นกรด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย และการตรวจครรภ์
2.2 พบภาวะ late deceleration patterns or variable deceleration ระยะคลอด
2.3 จังหวะการเต้นไม่สม่ำเสมอ
2.1 พบเสียงหัวใจทารกผิดปกตื ช้ากว่า 110 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 160 ครั้ง/นาที
2.4 ไม่ได้ยินเสียงหัวใจทารก หากช่วยเหลือไม่ทันอาจเสียชีวิต
2.5 ตรวจพบขี้เทา น้ำคร่ำปรืมาณเข้มข้น ทารกขากออกซิเจน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 Fetal scalp sampling ตรวจความเป็นกรด-ด่างของเลือดทารก pH น้อยกว่า 7.2 ถือว่าอยู่ในภาวะคับขัน
3.2 การประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์ด้วยวิธี non-stress test, OCT, CST, EFM
ซักประวัติ ได้แก่ การดิ้นของทารก การแตกของถุงน้ำคร่ำ ลักษณะ สี ปริมาณน้ำคร่ำ
การรักษา
หยุดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเพื่อเพิ่มอัตราการไหลเวียนของเลือด
ให้ออกซิเจน 4 l/min ทาง canular หรือ 8-10 L/min ทาง face mask
การเติมน้ำในโพรงมดลูก
จัดท่านอนมารดา นอนตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดเส้นเลือด aorta and inferior vena cava
แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำของมารดา
ระยะคลอดพิจารณาช่วยคลอดทางสูติศาสตร์หัตถการ เช่น คีม
การพยาบาล
การเฝ้าระวังและป้องกนทารกในครรภ์ระยะตั้งครรภ์
1.2 ระยะตั้งครรภ์แนนะนำนับลูกดิ้น
1.3 สตรีตั้งครรภ์ควรสังเกตุอาการผิดปกติของตนเองและมาพบแพทย์ทันที เช่น มีการแตกขแงถุงน้ำคร่ำ น้ำคร่ำปนขี้เทา
1.1 ประเมินและวินิจฉัยการเกิดภาวะ Fetal distress
1.4 แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอเพื่อติดตามและประเมินทารก
ระยะคลอด
2.4 ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวตามแผนการรักษา
2.5 ในรายที่ถุงน้ำคร่ำแตกควรประเมินลักาณะของน้ำคร่ำ
2.3 ประเมิน บันทึก การหดรัดตัวของมดลูกและเสียงหัวใจทารก
2.6 ดูแลให้การดำเนินการคลอดเป็นไปตามปกติ
2.2 ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
2.7 เมื่อประเมินและพบว่าทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
หยุดให้ยากระตุ้นการหดตัวของมดลูก
ประเมินและบันทึกเสียงหัวใจทารก
ดูแลให้ออกซิเจน
เตรียมผู้คลอดสำหรับทำ amnioinfusion
จัดท่ามารดานอนตะแคงซ้าย
เตรียมอุปกรณ์สำหรับช่วยฟื้นคืนชีพทารก
2.1 ดูแลให้ผู้คลอดได้รับออกวิเจนอย่างเพียงพอ ท่านอนศีรษะสูง