Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา, fe7ff8c7774a6bbc821…
บทที่ 7
การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
รายงานผลการประเมินตนเอง
ความหมาย
เอกสารที่แสดงถึงการรายงานผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบและตัวบ่งชี้คุณภาพและเกณฑ์ตามที่ระบุไว้ของสถานศึกษาในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
ประโยชน์
ข้อมูลการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาทั้งในด้านจุดเด่นจุดควรพัฒนาโอกาสและข้อจากัด
ข้อมูลสารสนเทศเชิงประจักษ์ที่จะช่วยกระตุ้นให้ผู้บริหารสถานศึกษา
พ่อแม่ผู้ปกครองตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้รับทราบผล
การพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
มีฐานข้อมูลในการกาหนดนโยบายการพัฒนาการจัดการศึกษา
การใช้รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
วัตถุประสงค์
เพื่อนำเสนอผลการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อคณะกรรมการบริหารโรงเรียน
เพื่อเป็นฐานข้อมูลของสถานศึกษาในการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาแผนปฏิบัติการประจำปี และเป็นฐาน
ข้อมูลสาหรับการประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายใน
(Internal Quality Assessment)
ความหมาย
ดำเนินการให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
กระบวนการประเมินคุณภาพภายในเป็นการประเมินคุณภาพ
การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เป็นระบบและกลไกในการควบคุมตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
หลักการสำคัญ
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการและการทำงานของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาดำเนินการตามแผนการตรวจสอบประเมินผลและพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
เป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารครูอาจารย์และบุคลากรอื่นๆในสถานศึกษา
จุดมุ่งหมายของการประเมินคุณภาพภายในอยู่ที่การพัฒนาคุณภาพให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
วัตถุประสงค์
2) เพื่อนำผลการประเมินคุณภาพภายในมาใช้เป็นข้อมูล
3) เพื่อพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา
1) เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
4) เพื่อนำข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปจัดทำรายงานประจำปี
ขั้นตอนการประเมิน
เขียนรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบ
รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ
รายงานและเปิดเผยต่อผู้เกี่ยวข้อง
แต่งตั้งคณะทำงาน
การพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
หมายถึง
การดำเนินงานตามแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยนาผลการประเมินที่สะท้อนคุณภาพของผู้เรียน
แนวการดำเนิน
วิธีที่ 2 การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดการความรู้ หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งอาจอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ
วิธีที่ 3 การใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพพัฒนางานและการเรียนรู้
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community :
PLC) หมายถึง การรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทำ และเรียนรู้ร่วมกันของครูผู้บริหาร และนักวิชาการแบบกัลยาณมิตร สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสำเร็จของผู้เรียน
วิธีที่ 1 การใช้ข้อมูลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระยะที่ 2 วางแผนการใช้ข้อมูล
ระยะที่ 3 การลงมือปฏิบัติงาน
ระยะที่ 1 การจัดเตรียมข้อมูล