Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
Target organ damage (TOD) หมายถึง ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
Cardiovascular disease (CVD) หมายถึง โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
Hypertensive urgency คือ ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูก
ทำลาย ไม่จำเป็นต้องรับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก
Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมี
การทำลายของอวัยวะเป้าหมายอาจมีอาการของ Acute MI, Stroke, และ Kidney failure ภาวะนี้พบน้อย
กว่า 1 เปอร์เซ็นต์ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
Hypertensive crisis หรือ Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงอย่าง
เฉียบพลันสูงกว่า 180/120 มม.ปรอท และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
การซักประวัติ
การซักโรคประจำตัว
ความสม่ำเสมอของการรับประทานยา
การสููบบุหรี่
ประวัติความดันโลหิตสูงในสมาชิกครอบครัว
ความดันโบหิตสูงขณะตั้งครรภ์
สอบถามอาการและอาการแสดงที่เกี่ยวกับโรค
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
เปรียบเทียบความดันโลหิตแขนซ้ายและขวา
ระดับความรู้สึกตัว
ตรวจจอประสาทตา
ประเมินภาวะ increased intracranial pressure
การตรวจปฏิบัติการห้องพิเศษ
ตรวจ CBC
ตรวจการทำงานของไต
ค่า Creatinine
Glomerular filtration rate (eGFR)
ค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
ประเมินหาความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด
CT,MRI
การรักษา
การรักษาทันทีใน ICU และให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้า
หลอดเลือดดำ
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย (mean arterial pressure) ลงจากระดับเดิม 20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
ยาลดความดันโลหิต
sodium nitroprusside
nicardipine
nitroglycerin
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ
2 . ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ยาทาง infusion pump เท่านั้นห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดดำโดยตรง
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม เช่นการจัดท่านอนให้สุขสบาย การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ
และจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ
ให้ความรู้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วัน โดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า
(Electrical Cardioversion)
Persistent AF หมายถึง AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน
หรือหายได7ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Permanent AF หมายถึง AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปี โดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF หมายถึง AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF หมายถึง AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
สาเเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ7มหัวใจอักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
คลำชีพจรข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูงในผู้ป่วยที่เป็น AF และ
ไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular tachycardia (VT)
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที
รู้สึกใจสั่น
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
ประเภทของ VT
Nonsustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที ซึ่งมีผลทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบต่างกัน
Ventricular fibrillation (VF)
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดขึ้นทันที
หมดสติ
ไม่มีชีพจร
รูม่านตาขยาย
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
การพยาบาล
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด เพื่อหาสาเหตุนำของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วย
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยงลดลง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำ synchronized cardioversion
ทำ CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย ในกรณีเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
สาเหตุ
กลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน โรคหัวใจใดๆที่ทรุดลงตามการดำเนินโรค ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความผิดปกติอื่นๆ หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
Acute decompensated heart failure หมายถึง กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นเฉียบพลันแต่ไม่มีอาการรุนแรงมาก
Hypertensive acute heart failure หมายถึง กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีปอดบวมน้ำ โดยมีความดันโลหิตสูงรุนแรงร่วมด้วย
Pulmonary edema หมายถึง ภาวะที่มีอาการและอาการแสดงของปอดบวมน้ำร่วมด้วยอย่างชัดเจน สามารถเห็นได้ชัดเจนจากภาพถ่ายรังสีทรวงอก
Cardiogenic shock หมายถึง ภาวะที่ร่างกายมี poor tissue perfusion ถึงแม้จะมีการแก้ไขภาวะขาดน้ำแล้วก็ตาม
High output failure หมายถึง ภาวะหัวใจล้มเหลวโดยมีปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีสูงกว่าปกติ มักมีหัวใจเต้นเร็ว ปลายมือเท่าอุ่น
Right heart failure หมายถึง ภาวะที่หัวใจด้านขวาทำงานล้มเหลว มี ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยที่พบบ่อย
หายใจเหนื่อยหอบ
นอนราบไม่ได้
อ่อนเพลีย
บวมตามแขนขา
ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ำ/สูง
ท้องอืดโต แน่นท้อง
ปัสสาวะออกน้อย/มาก
เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง
ฟังได้ยินเสียงปอดผิดปกติ
การรักษา
การลดการทำงานของหัวใจ
การดึงน้ำและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
การใช้ยา
ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ
ยาขยายหลอดเลือด
ยาที่ใช้ในช็อค
ยาบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก
ยาละลายลิ่มเลือด
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด
การรักษาสาเหตุ
การพยาบาล
การลดการทำงานของหัวใจ
การลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
หากอัตราการเต้นของหัวใจ ต่ำกว่า 60 ครั้ง/นาที งดให้ยาและรายงานแพทย์
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับการไหลเวียนเลือด
ดูแลการทำงานของเครื่องกระตุ้นจังหวะหัวใจ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับการตอบสนองตามความต้องการพื้นฐาน
ดูแลติดตามการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลติดตามและบันทึกค่า CVP, PCWP
สังเกต/บันทึกปริมาณปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง (keep urine output >= 0.5 ml/kg/hr.)
จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการนอนหลับพักผ่อน
ภาวะช็อก (Shock)
ความหมาย
เป็นภาวะที่เกิดความผิดปกติทางสรีรวิทยาส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกายลดต่ำลงกว่าความต้องการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อและอวัยวะ
เกิดภาวะเสียสมดุลระหว่างปริมาณออกซิเจนที่ถูกขนส่งไปยังเนื้อเยื่อ (Oxygen delivery) กับ
ความต้องการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อ (Oxygen consumption)
ทำให้ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่เพียงพอเสียสมดุลของการเผาผลาญระดับเซลล์อวัยวะต่างๆขาดออกซิเจน และสูญเสียหน้าที่
ระยะของช็อก
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก
ผลการรักษาจะดีและมีภาวะแทรกซ้อนเพียงเล็กน้อย
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย
การทำงานของอวัยวะต่างๆลดลง ก่อนได้รับการรักษาที่เหมาะสมการรักษาจะใช้เวลามากขึ้นและมีภาวะแทรกซ้อนจากอวัยวะล้มเหลว
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้
จนทำให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆในร่างกายได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก
ประเภทของช็อก
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ำ
กิดจากการลดลงของปริมาณของเลือดหรือสารน้ำในร่างกาย (การสูญเสียมากกว่า 30-40% ของ
ปริมาตรเลือด) ทำให้ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจ (Venous return หรือ preload) ลดลง
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว (Cardiogenic shock)
หัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย โดยที่มีปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอ
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว
ภาวะช็อกจากการแพ้
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ
ภาวะช็อกจากการทำงานผิดปกติของต่อมหมวกไต
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ
เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียนของโลหิตไปสู่หัวใจห้องซ้ายจากสาเหตุภายนอกหัวใจ ส่งผลให้
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท
อาการและอาการแสดง
ประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย
เซลล์สมองตาย
หมดสติ
หัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเบาเร็ว
หลอดเลือดส่วนปลายหดตัว
ผิวหนังเย็นซีด
หายใจ
หายใจเร็วลึก
ระบบหายใจล้มเหลว
ไตและการขับปัสสาวะ
ปัสสาวะออกน้อย
ทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารและลำไส้ขาดเลือด
การย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ
ตับวาย
เลือดและภูมิคุ้มกัน
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
เม็ดเลือดขาวทำงานบกพร่อง
ต่อมไร้ท่อ
น้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำ
ภาวะร่างกายเป็นกรด
การพยาบาล
การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การแก้ไขสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะช็อก
ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต่อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น