Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
Hypertensive crisis หรือ Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลันสูงกว่า 180/120 mmHg และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย (target organ
damage, TOD)
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกำเนิด
อาการและอาการแสดง
อาการทางสมอง hypertensive encephalopathy จะมีอาการ
ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
Acute cardiovascular syndromes,Myocardial infarction,Unstable angina,Pulmonary edema,Aortic dissection
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ เปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว
โรคหลอดเลือดสมอง จะมีอาการ แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
Chest pain บ่งบอก acute coronary syndrome or aortic dissection
อาการ oliguria or azotemia แสดงถึงภาวะไตถูกทำลาย
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection) ให้คลำชีพจรที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง และวัดความดันโลหิตที่แขน 2 ข้าง จะแตกต่างกัน เรียกว่า pseudohypotension
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC
ตรวจการทำงานของไต
ECG และ chest X-ray
การรักษา
คือลดความดันโลหิตเฉลี่ย (mean arterial pressure) ลงจาก
ระดับเดิม 20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
ยาลดความดันโลหิต เช่น vasodilator, adrenergic blocker, calcium
channel blocker, angiotensin-converting enzyme inhibitor
การพยาบาล
ติดตามอาการของระบบต่างๆ ได้แก่
neurologic, cardiac, and renal systems
ประเมินติดตามความดันโลหิตเพื่อป้องกันการลดลงของความดันโลหิตอย่างรวดเร็ว
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย ได้แก่ ชีพจร capillary refill อุณหภูมิของผิวหนัง
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต ปริมาณปัสสาวะสมดุลกับสารน้ำที่รับเข้าร่างกาย ค่า BUN Cr
รักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้แก่ sodium nitroprusside เริ่มให้ขนาด 0.3-0.5 mcg/kg/min และเพิ่มครั้งละ 0.5 mcg/kg/minทุก 2-3 นาที สูงสุดให้ไม่เกิน 10 mcg/kg/min ทาง infusion pump
อาการไม่พึงประสงค์ ได้แก่
ความดันโลหิตต่ำ (excessive hypotension), หัวใจเต้นช้า, ภาวะกรด (acidosis) เป็นต้น
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
(Cardiac arrhythmias: Sustained AF, VT, VF)
Atrial fibrillation (AF)
คือ ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้า (ectopic focus) ใน atriumส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ำเสมอและไม่ประสานกัน ทำให้บีบตัวแบบสั่นพริ้ว
ECG ไม่สามารถบอก P wave ได้ชัดเจน จังหวะไม่สม่ำเสมอ QRS complex ไม่เปลี่ยนแปลง อัตราการเต้นของ atrial มากกว่า 350 ครั้ง/นาที
ประเภทของ AF
Persistent AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา การช็อคไฟฟ้า
Permanent AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Paroxysmal AF หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า (Electrical Cardioversion)
Recurrent AF หมายถึง AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF ที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
สาเหตุ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
โรคหัวใจขาดเลือด,โรคหัวใจรูห์มาติก, ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง ,เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยเวลาออกแรง
คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
ใจสั่น อ่อนเพลีย
ภาวะแทรกซ้อน
การเกิดลิ่มเลือด AF ทำให้เกิดเลือดแข็งตัวในหัวใจห้องบนซ้ายซึ่งมี
โอกาสหลุดไปในกระแสเลือด ทำให้เกิด stroke
ทำให้เกิด pulmonary
embolus
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker, calcium channel blockers, amiodarone
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion และRadiofrequency Ablation
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิด
การเต้นของหัวใจ ในอัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ECG ไม่พบ P wave ลักษณะ QRS complex มีรูปร่างผิดปกติกว้างมากกว่า 0.12 วินาที
ประเภทของ VT
Sustained VT เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30 วินาที ซึ่งทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT คือ ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Nonsustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
Myocardial infarction
Rheumatic heart disease
ถูกไฟฟ้าดูด ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
เตรียมเครื่อง Defibrillator เปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสารน้ำ
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ เพื่อประเมินภาวะเลือดไปเลี้ยงสมอง และอวัยวะสำคัญ
ในผูู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง เตรียมทำ synchronized cardioversion
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้ (Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ
Ventricular fibrillation (VF)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการ
เต้นของหัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ
ECG จะไม่มี
P wave ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex
สาเหตุ
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia,Toxins
Hypoxia,Cardiac tamponade
Hypovolemia,
Tension pneumothorax
Hyperkalemia,Pulmonary thrombosis
Hypothermia, Coronary thrombosis
,
อาการและอาการแสดง
เกิดทันที คือ หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้ และเสียชีวิต
การพยาบาล
ติดตามระดับความรู้สึกตัว ความดันโลหิต สีของผิวหนัง อุณหภูมิของผิวหนัง จำนวนปัสสาวะ และ capillary refill time
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่มีผลต่อ อัตรา และจังหวะการเต้น
ของหัวใจ
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจน,วัด O2 saturation
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำ synchronized cardioversion
เตรียม CPR กรณีหัวใจหยุดเต้น